ReadyPlanet.com


เวลาทำงาน


ปกติในกฎหมายแรงงานลูก จ้างทำงานกี่ชั่วโมงครับ แล้วหลังจากทำงานครบชั่วโมงตามที่กฎหมายแรงงานกำหนด  เราสามารถจะเลือกทำOT ครับ



ผู้ตั้งกระทู้ Anon ChaiKun :: วันที่ลงประกาศ 2012-04-06 22:58:30


[1]

ความคิดเห็นที่ 1 (3283041)

 กฎหมายแรงงานมาตรา 23 พรบ คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ให้นายจ้างกำหนดเาลาทำงานเริ่มต้นและสิ้นสุดในการทำงานในแต่ละวัน ในหนึ่งวันทำงานได้ไม่เกิน 8 ชั่วโมง ยกเว้นตกลงเป็นอย่างอื่น ซึ่งรวมแล้วสัปดาห์หนึ่งต้องไม่เกิน 48 ชั่วโมง

การทำงานล่วงเวลา คือการทำงานที่นอกเวลาทำงานปกติที่กำหนดไว้ตามระเบียบข้อบังคับในการทำงาน ไม่ว่าก่อนหรือหลังเวลาทำงานปกติแม้ทำงานในเวลาทำงานปกติ เพียง 1 ชม แล้วทำงานต่อไปอีก 7 ชั่วโมง ก็ถือว่า 7 ชั่วโมงนั้นเป็นกาทำงานล่วงเวลา

การทำงานล่วงเวลามี factor อยู่ 3 ตัวคือ นายจ้างสั่ง ลูกจ้างตกลงทำ และได้มีการทำงานตามที่ตกลงกันไว้ หากนายจ้างสั่ง ลูกจ้างไม่ทำ ก็ไม่มีการทำงานล่วงเวลา ไม่มีความผิดทางวินัย ยกเว้นงานที่ต้องทำต่อเนื่องหากไม่ทำจะเกิดผลเสียของงาน เช่น การผสมปูน ก็ต้องทำให้เสร็จ หากไม่ทำให้เสร็จ โม่ปูนก็จะเสียหาย นายจ้างมีสิทธิสั่งให้ทำ ลูกจ้างไม่มีสิทธิปฏิเสธ หากปฏิเสธ นายจ้างอาจลงโทษทางวินัยได้ อาจเป็นเรื่องร้ายแรงด้วยซ้ำ

ในทางกลับกัน หากลูกจ้างมาทำเอง โดยนายจ้างไม่ได้สั่ง ก็ถือว่าทำฟรี 

หากลูกจ้างลงชื่อทำโอแล้ว ถือเป็นการตกลงกันซึ่งสมบูรณ์แล้ว หากลูกจ้างไม่มาทำ นายจ้างสามารถลงโทษทางวินัยได้ 

 

ผู้แสดงความคิดเห็น ที่ปรึกษา วันที่ตอบ 2012-04-08 13:18:16


ความคิดเห็นที่ 2 (3283042)

 กฎหมายแรงงานมาตรา 23 พรบ คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ให้นายจ้างกำหนดเาลาทำงานเริ่มต้นและสิ้นสุดในการทำงานในแต่ละวัน ในหนึ่งวันทำงานได้ไม่เกิน 8 ชั่วโมง ยกเว้นตกลงเป็นอย่างอื่น ซึ่งรวมแล้วสัปดาห์หนึ่งต้องไม่เกิน 48 ชั่วโมง

การทำงานล่วงเวลา คือการทำงานที่นอกเวลาทำงานปกติที่กำหนดไว้ตามระเบียบข้อบังคับในการทำงาน ไม่ว่าก่อนหรือหลังเวลาทำงานปกติแม้ทำงานในเวลาทำงานปกติ เพียง 1 ชม แล้วทำงานต่อไปอีก 7 ชั่วโมง ก็ถือว่า 7 ชั่วโมงนั้นเป็นกาทำงานล่วงเวลา

การทำงานล่วงเวลามี factor อยู่ 3 ตัวคือ นายจ้างสั่ง ลูกจ้างตกลงทำ และได้มีการทำงานตามที่ตกลงกันไว้ หากนายจ้างสั่ง ลูกจ้างไม่ทำ ก็ไม่มีการทำงานล่วงเวลา ไม่มีความผิดทางวินัย ยกเว้นงานที่ต้องทำต่อเนื่องหากไม่ทำจะเกิดผลเสียของงาน เช่น การผสมปูน ก็ต้องทำให้เสร็จ หากไม่ทำให้เสร็จ โม่ปูนก็จะเสียหาย นายจ้างมีสิทธิสั่งให้ทำ ลูกจ้างไม่มีสิทธิปฏิเสธ หากปฏิเสธ นายจ้างอาจลงโทษทางวินัยได้ อาจเป็นเรื่องร้ายแรงด้วยซ้ำ

ในทางกลับกัน หากลูกจ้างมาทำเอง โดยนายจ้างไม่ได้สั่ง ก็ถือว่าทำฟรี 

หากลูกจ้างลงชื่อทำโอแล้ว ถือเป็นการตกลงกันซึ่งสมบูรณ์แล้ว หากลูกจ้างไม่มาทำ นายจ้างสามารถลงโทษทางวินัยได้ 

 

ผู้แสดงความคิดเห็น ที่ปรึกษา วันที่ตอบ 2012-04-08 13:18:44



[1]


แสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น *
ผู้แสดงความคิดเห็น  *
อีเมล 
ไม่ต้องการให้แสดงอีเมล



Copyright © 2010 All Rights Reserved.