ReadyPlanet.com
dot dot
dot
dot
bulletขอเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างโดยไม่จ่าย ค่าชดเชย
bulletเลิกจ้างนอกข้อยกเว้น มาตรา 123
bulletลงชื่อสนับสนุนข้อเรียกร้อง
bulletข้อตกลงที่สิ้นผลผูกพัน
bulletห้ามทำสัญญาจ้างฯขัดข้อตกลงสภาพการจ้าง
dot
dot
bulletคำวินิจฉัยของศาลที่ไม่มีเหตุผลประกอบ
bulletการปฏิบัติตามคำพิพากษา
dot
dot
bulletสิทธิในการเรียกค่าขาดไร้อุปการะ
bullet“บุตร” หมายความว่าอย่างไร ?
bulletไม่ถือว่าได้รับความเดือดร้อน
dot
dot
bulletหนังสือเตือนไม่ใช่โทษ
bulletประมาทเลินเล่อ
bulletไม่ผิดยักยอกแต่เลิกจ้างเป็นธรรม
bulletปิดกิจการชั่วคราว
bulletความหมายของคำว่า “ผู้บังคับบัญชา”
bulletทำงานแต่ละทิ้งหน้าที่
bulletต้องเลือกใช้สิทธิ
bulletการระบุเหตุผลในหนังสือบอกเลิกจ้าง
bulletการใช้สิทธิร้องพนักงานตรวจแรงงานและคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พร้อมกัน
bulletการสละสิทธิไม่รับเงินประกัน
dot
dot
bulletฟ้องตัวแทนหางานในประเทศไทย
bulletฟ้องละเมิด
dot
dot
bulletจัดหางานไม่ได้รับอนุญาต
dot
dot
bulletประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจที่เป็นคุณต่อลูกจ้างแต่ออกภายหลังที่ลูกจ้างเกษียณอายุไปแล้ว
dot
dot
bulletศาลฎีกา
bulletศาลอุทธรณ์
bulletศาลแพ่ง
bulletศาลแพ่งกรุงเทพใต้
bulletศาลอาญา
bulletศาลแพ่งธนบุรี
bulletศาลแรงงานกลาง
bulletศาลล้มละลายกลาง
dot

dot
dot
dot
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
bulletกรมการจัดหางาน
bulletกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletสถาบันความปลอดภัยในการทำงาน
bulletศูนย์บริการข้อมูลและฝึกอบรมแรงงาน
bulletสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน
bulletสำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ
dot
dot
bulletบุษบาผู้น่าสงสาร
bulletขนมดังโกะ
bulletฤกษ์สึก
dot
dot
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำรายชั่วโมง
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ ซึ่งได้ประกาศให้มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550
bulletแนวทางในการส่งเสริมให้นักเรียน นิสิต และนักศึกษาเข้าทำงานในช่วงปิดภาคเรียนหรือภาคฤดูร้อน
bulletหลัก 7 ประการในการบริหารแรงงาน
bullet สาระสำคัญพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
bulletหญิงไทยกับกฎหมายแรงงานใหม่
bullet10 เคล็ดลับ เพื่อผูกใจพนักงานไว้กับองค์กร
bulletร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.........
bulletร่างพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ ฉบับคณะกรรมการกฤษฎีกา
bulletร่างพระราชบัญญัติค่าจ้างและรายได้
dot
dot
bulletโครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
bulletไทยเซฟตี้ดอทเน็ต
bulletสภาทนายความ
bulletทนายป๊อดดอทคอม
bulletสำนักกฎหมายทัศน์พงษ์ สกุลคู
bulletไทยจัสติสดอทคอม
bulletอาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
bulletThaiJobCenter.com
dot
dot
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนเมษายน 2550
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนพฤษภาคม 2550
dot
dot
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 3 หลักการพัฒนาตนเองให้เป็นพหูสูต
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 2 เทคนิคการปกครองคน 3 รูปแบบ
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 1
bulletเคล็ดลับ 12 ประการในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ( 12 Tips for Building Good Human Relations)
bulletผู้นำที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ ตอนที่...2
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ
bulletเรื่องของ ค คน โดยจามจุรีสีชมพู
bulletสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง


ประชาสัมพันธ์ Add Url ฟรี!


ความแตกต่างระหว่างข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่เกิดและไม่ได้เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้อง article

     ความแตกต่างระหว่างข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่ไม่ได้เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้องกับข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้อง

 

     1.ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้อง เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้องของนายจ้างหรือลูกจ้างตามขั้นตอนที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 ถ้าเจรจาแล้วผลที่สุดตกลงกันไม่ได้ ลูกจ้างอาจจะนัดหยุดงานหรือนายจ้างอาจะปิดงาน รายละเอียดให้ดูในเรื่องการแจ้งข้อเรียกร้องและการนัดหยุดงานต่อไป

     ส่วนข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่ไม่ได้เกิดขึ้นจากการแจ้งข้อเรียกร้อง อาจเกิดจากการตกลงกันระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์หรือเกิดจากข้อบังคับของนายจ้าง แต่ไม่มีผลก่อให้เกิดสิทธิในการนัดหยุดงานหรือปิดงาน

     2.ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้อง เมื่อตกลงกันแล้วนายจ้างจะต้องปิดประกาศภายใน 3 วัน เป็นเวลาอย่างน้อย 30 วัน และให้นายจ้างนำข้อตกลงไปจดทะเบียนต่ออธิบดีกรมแรงงานภายใน 15 วัน

     ส่วนข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่ไม่ได้เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้อง นายจ้างไม่ต้องปิดประกาศ ไม่ต้องนำไปจดทะเบียนและอาจเป็นข้อตกลงที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษรก็ได้

     3.ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้องเท่านั้นที่พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 12 บังคับไว้มิให้ตกลงกันเกินกว่า 3 ปี

ส่วนข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่ไม่ได้เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้อง นายจ้างกับลูกจ้างจะตกลงกันให้มีผลบังคับนานกี่ปีก็ได้

   4. ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้องเท่านั้น ที่พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 123 ห้ามนายจ้างเลิกจ้างที่เกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้องในระหว่างที่ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างมีผลบังคับอยู่

   5.ผู้ฝ่าฝืนข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้องอาจมีโทษในทางอาญา

แต่ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่มิได้เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้อง เช่น ข้อบังคับหรือคำสั่งนายจ้าง ผู้ฝ่าฝืนไม่มีโทษทางอาญา เพียงแต่อาจถูกฟ้องร้องให้ปฎิบัติตามข้อตกลงหรือชดใช้ค่าเสียหายเท่านั้น หรือถ้าลูกจ้างเป็นฝ่ายฝ่าฝืน ก็อาจจะถูกนายจ้างลงโทษตามระเบียบข้อบังคับเท่านั้น ไม่มีความผิดอาญา ความผูกพันตามข้อตกลง จะต้องบังคบตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

ที่มา : โดยนายประคนธ์ พันธุ์วิชาติกุล,คำอธิบาย พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518  ฉบับพิสดาร เล่มที่ 1. ปีที่พิมพ์ 2527  หน้า 63 - 65 

   ข้อเหมือนและข้อแตกต่างระหว่างข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้องและที่ไม่ได้เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้อง

     ข้อเหมือน ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างไม่ว่าจะเกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้องหรือไม่ได้เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้อง มีผลเหมือนกันคือ เป็นข้อตกลงระหว่างนายจ้างและลูกจ้างที่มีผลผูกพันคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายที่จะต้องปฎิบัติตามข้อตกลง ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดจะฝ่าฝืนไม่ปฎิบัติตามข้อตกลงหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงโดยลำพังไม่ได้

     ข้อแตกต่าง ข้อตกลงที่เกี่ยวกับสภาพการจ้างที่ไม่ได้เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้องและข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางที่เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้องแตกต่างกันในสาระสำคัญ ดังนี้

     ก.ระยะเวลาในการใช้บังคับ ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่ไม่ได้เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้อง จะกำหนดให้มีผลบังคับใช้กี่ปีก็ได้ ส่วนข้อตกลงที่เกี่ยวกับสภาพการจ้างที่เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้องจะตกลงกันไม่เกินกว่า 3 ปี ไม่ได้ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2518 มาตรา 12

    ข.การจดทะเบียนและการปิดประกาศ ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่ไม่ได้เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้อง เพียงแต่นายจ้างและลูกจ้างตกลงกัน ก็มีผลบังคับได้โดยไม่จำเป็นต้องนำข้อตกลงนั้นไปจดทะเบียนและปิดประกาศ ณ สถานประกอบการแต่อย่างใด ส่วนข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้อง กฎหมายบังคับว่าเมื่อตกลงกันได้แล้ว นายจ้างมีหน้าที่นำข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างไปปิดประกาศโดยเปิดเผย ณ สถานที่ประกอบการภายใน 3 วันนับแต่ตกลงกันได้ และจะต้องปิดไว้นาน 30 วัน อีกทั้งจะต้องนำไปจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ภายใน 15 วัน อีกด้วย ตมพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 18

     ค. สิทธิในการใช้มาตรการทางแรงงานสัมพันธ์ ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่ไม่ได้เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้อง เป็นเรื่องราวความตกลงกันเองระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง ข้อตกลงประเภทนี้ไม่ก่อให้เกิดสิทธิให้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งดำเนินมาตรการทางแรงงานสัมพันธ์ นายจ้างและลูกจ้างจะใช้สิทธินัดหยุดงานหรือปิดงานไม่ได้ แต่ถ้าเป็นข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้อง เป็นข้อตกลงที่เป็นผลมาจากการแจ้งข้อเรียกร้องโดยปฎิบัติตามขั้นตอนและวิธีการที่กฎหมายกำหนด หากทั้งสองฝ่ายตกลงกันไม่ได้จนเกิดเป็นข้อพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไม่ได้แต่ละฝ่ายมีสิทธิตามกฎหมายที่จะใช้มาตรการทางแรงงานสัมพันธ์เข้าบังคับอีกฝ่ายหนึ่งยอมตามข้อเรียกร้องของตน กรณีหลังนี้ นายจ้างและลูกจ้างอาจใช้สิทธินัดหยุดงานหรือปิดงานได้

   ง. การคุ้มครองแรงงานลูกจ้างที่เกี่ยวข้องกับการแจ้งข้อเรียกร้อง พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 123 ให้ความคุ้มครองลูกจ้างที่เกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้อง  โดยบัญญัติห้ามไม่ให้นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างซึ่งเกี่ยวกับข้อเรียกร้อง ในระหว่างที่ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างมีผลใช้บังคับ การคุ้มครองตามมาตรานี้ คุ้มครองเฉพาะกรณีข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้องเท่านั้น ถ้าเป็นข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างไม่ได้เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้อง จะไม่ได้รับความคุ้มครองตามมาตรา 123

    จ. ผลของการฝ่าฝืนข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง  หากเป็นข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่ไม่ได้เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้อง จะมีสภาพในทางแพ่งเท่านั้น แต่ถ้าเป็นการฝ่าฝืน

    ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้อง อาจมีโทษทางอาญาตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 131

ที่มา : โดย พงษ์รัตน์ เครือกลิ่น, คำอธิบายกฎหมายแรงงานเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์ พิมพ์ครั้งแรก กรกฎาคม 2545. หน้า 230 - 232. 

 




คำอธิบาย กฎหมายแรงงาน

ความแตกต่างระหว่างมาตรา 31 วรรคหนึ่งกับมาตรา 121 (1) article
การลาเพื่อกิจการสหภาพแรงงาน
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน ตอนที่ 3 การนัดหยุดงานรูปแบบสับเปลี่ยนหมุนเวียนและแบบสกัดกั้นสายการผลิต article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
หน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง article
คำเตือน article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.