ReadyPlanet.com
dot dot
dot
dot
bulletขอเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างโดยไม่จ่าย ค่าชดเชย
bulletเลิกจ้างนอกข้อยกเว้น มาตรา 123
bulletลงชื่อสนับสนุนข้อเรียกร้อง
bulletข้อตกลงที่สิ้นผลผูกพัน
bulletห้ามทำสัญญาจ้างฯขัดข้อตกลงสภาพการจ้าง
dot
dot
bulletคำวินิจฉัยของศาลที่ไม่มีเหตุผลประกอบ
bulletการปฏิบัติตามคำพิพากษา
dot
dot
bulletสิทธิในการเรียกค่าขาดไร้อุปการะ
bullet“บุตร” หมายความว่าอย่างไร ?
bulletไม่ถือว่าได้รับความเดือดร้อน
dot
dot
bulletหนังสือเตือนไม่ใช่โทษ
bulletประมาทเลินเล่อ
bulletไม่ผิดยักยอกแต่เลิกจ้างเป็นธรรม
bulletปิดกิจการชั่วคราว
bulletความหมายของคำว่า “ผู้บังคับบัญชา”
bulletทำงานแต่ละทิ้งหน้าที่
bulletต้องเลือกใช้สิทธิ
bulletการระบุเหตุผลในหนังสือบอกเลิกจ้าง
bulletการใช้สิทธิร้องพนักงานตรวจแรงงานและคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พร้อมกัน
bulletการสละสิทธิไม่รับเงินประกัน
dot
dot
bulletฟ้องตัวแทนหางานในประเทศไทย
bulletฟ้องละเมิด
dot
dot
bulletจัดหางานไม่ได้รับอนุญาต
dot
dot
bulletประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจที่เป็นคุณต่อลูกจ้างแต่ออกภายหลังที่ลูกจ้างเกษียณอายุไปแล้ว
dot
dot
bulletศาลฎีกา
bulletศาลอุทธรณ์
bulletศาลแพ่ง
bulletศาลแพ่งกรุงเทพใต้
bulletศาลอาญา
bulletศาลแพ่งธนบุรี
bulletศาลแรงงานกลาง
bulletศาลล้มละลายกลาง
dot

dot
dot
dot
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
bulletกรมการจัดหางาน
bulletกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletสถาบันความปลอดภัยในการทำงาน
bulletศูนย์บริการข้อมูลและฝึกอบรมแรงงาน
bulletสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน
bulletสำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ
dot
dot
bulletบุษบาผู้น่าสงสาร
bulletขนมดังโกะ
bulletฤกษ์สึก
dot
dot
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำรายชั่วโมง
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ ซึ่งได้ประกาศให้มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550
bulletแนวทางในการส่งเสริมให้นักเรียน นิสิต และนักศึกษาเข้าทำงานในช่วงปิดภาคเรียนหรือภาคฤดูร้อน
bulletหลัก 7 ประการในการบริหารแรงงาน
bullet สาระสำคัญพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
bulletหญิงไทยกับกฎหมายแรงงานใหม่
bullet10 เคล็ดลับ เพื่อผูกใจพนักงานไว้กับองค์กร
bulletร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.........
bulletร่างพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ ฉบับคณะกรรมการกฤษฎีกา
bulletร่างพระราชบัญญัติค่าจ้างและรายได้
dot
dot
bulletโครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
bulletไทยเซฟตี้ดอทเน็ต
bulletสภาทนายความ
bulletทนายป๊อดดอทคอม
bulletสำนักกฎหมายทัศน์พงษ์ สกุลคู
bulletไทยจัสติสดอทคอม
bulletอาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
bulletThaiJobCenter.com
dot
dot
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนเมษายน 2550
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนพฤษภาคม 2550
dot
dot
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 3 หลักการพัฒนาตนเองให้เป็นพหูสูต
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 2 เทคนิคการปกครองคน 3 รูปแบบ
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 1
bulletเคล็ดลับ 12 ประการในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ( 12 Tips for Building Good Human Relations)
bulletผู้นำที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ ตอนที่...2
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ
bulletเรื่องของ ค คน โดยจามจุรีสีชมพู
bulletสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง


ประชาสัมพันธ์ Add Url ฟรี!


ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article

ตอนที่ 6 อุทาหรณ์

 เรื่อง การเลิกจ้างที่เกี่ยวกับการกระทำอันไม่เป็นธรรม

           

            ฎีกาที่ 1425/2522

            ในระหว่างข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างมีผลบังคับและลูกจ้างมิได้มีความผิดตามที่ระบุไว้ โจทก์ยุบเลิกแผนกส่งของ เลิกจ้างลูกจ้างที่ทำงานอยู่ในแผนกนี้โดยไม่หาตำแหน่งอื่นให้ การกระทำของโจทก์เป็นการฝ่าฝืนมาตรา 123 แห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 และเมื่อได้ความว่าโจทก์ยุบเลิกแผนกส่งของและเลิกจ้างลูกจ้างก็เนื่องจากลูกจ้างยื่นข้อเรียกร้องให้ปรับปรุงค่าจ้าง และสวัสดิการ ทั้งนี้เพราะลูกจ้างแผนกส่งของหลายคนเป็นผู้นำในการร้องเรียนก่อให้เกิดความยุ่งยากแก่โจทก์ การเลิกจ้างลูกจ้างของโจทก์จึงฝ่าฝืนมาตรา 121(1) ด้วย บทบัญญัติมาตรา 123 และ 121 อยู่ในหมวด 9 เรื่อง การกระทำอันไม่เป็นธรรม จำเลยในฐานะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ย่อมมีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยคำร้องของลูกจ้าง และสั่งให้โจทก์จ่ายค่าเสียหายได้ตามมาตรา 41(4) ประกอบด้วยมาตรา 125

            ฎีกาที่ 2602-2603/2523

            การที่ลูกจ้างยื่นข้อเรียกร้องต่อบริษัท อ. ผู้เป็นนายจ้างให้เปลี่ยนแปลงข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างนั้นแม้จะยื่นในระหว่างที่ยังใช้ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างเดิมที่ตกลงกัน ก็ถือได้ว่าได้มีการยื่นข้อเรียกร้องแล้ว บริษัท อ. จึงต้องห้ามมิให้เลิกจ้างลูกจ้างนั้นเพราะเหตุที่ยื่นข้อเรียกร้องดังกล่าวดังที่บัญญัติไว้ใน พ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 121 การเลิกจ้างนั้นจึงไม่ชอบ

            ฎีกาที่ 1358/2524

            ในกรณีที่มีการเลิกจ้างโดยการกระทำอันไม่เป็นธรรมนั้น นอกจากค่าชดเชยที่นายจ้างจะต้องจ่ายให้แก่ลูกจ้าง โดยลูกจ้างไม่ได้กระทำความผิดตามข้อ 47 แล้ว ลูกจ้างมีสิทธิที่จะเรียกร้องค่าเสียหายได้ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงาน ข้อ 76 และคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์มีอำนาจตาม พ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 41(1) ที่จะกำหนดค่าเสียหายให้แก่ลูกจ้างในกรณีนายจ้างกระทำการอันไม่เป็นธรรมเป็นอีกส่วนหนึ่ง นอกเหนือจากค่าชดเชยที่นายจ้างจะต้องปฏิบัติตามกฎหมายอยู่แล้ว

            ฎีกาที่ 3745/2531

            การที่ลูกจ้างทั้งเจ็ดออกมาร่วมนัดหยุดงานภายหลังที่สหภาพแรงงานได้นัดหยุดงานไปแล้วย่อมเป็นการนัดหยุดงานโดยชอบ เมื่อนายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างทั้งเจ็ด จึงเป็นการกระทำอันไม่เป็นธรรมตาม พ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 มาตรา 121

           

            อย่างไรก็ตามหากนายจ้างเลิกจ้างเพราะเหตุจำเป็นอย่างอื่นนอกเหนือจากเหตุที่บัญญัติไว้ในมาตรา 121 แล้ว นายจ้างก็สามารถเลิกจ้างลูกจ้างได้โดยไม่ถือว่าเป็นการกระทำอันไม่เป็นธรรม

อุทาหรณ์

 

            ฎีกาที่ 3680/2530

            โจทก์เลิกจ้างนายนคร ลูกจ้าง เนื่องจากโจทก์ประสบภาวการณ์ขาดทุนติดต่อกันมาตั้งแต่ พ.ศ. 2526 ถึง พ.ศ. 2529 รวมเป็นเงิน 2,000,000 บาทเศษ โจทก์มิได้เลิกจ้างนายนครเพราะเหตุนายนครเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานเหล็กและโลหะแห่งประเทศไทย และมิใช่เหตุจากการเป็นตัวแทนเจราจาข้อเรียกร้องกับโจทก์ และการเลิกจ้างของโจทก์มิใช่เป็นการกลั่นแกล้งลูกจ้างแต่เป็นการกระทำโดยความจำเป็นเพื่อพยุงฐานะของโจทก์ให้ดำเนินการต่อไปด้วยดี โจทก์เลิกจ้างนายนคร จึงเป็นกรณีที่มีเหตุผลเพียงพอและเป็นการสมควร การกระทำของโจทก์มิใช่เป็นการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์มาตรา 121

 

โดย: กิติพงศ์   หังสพฤกษ์,บทความผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน,(วารสารศาลแรงงาน ปีที่ 12 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2539)น.52-62

 รวมคำพิพากษาฎีกา ตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 ทศวรรษที่ 2 (ปี พ.ศ. 2532-2542) น.223-225

 

27/7/2549




คำอธิบาย กฎหมายแรงงาน

ความแตกต่างระหว่างมาตรา 31 วรรคหนึ่งกับมาตรา 121 (1) article
การลาเพื่อกิจการสหภาพแรงงาน
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน ตอนที่ 3 การนัดหยุดงานรูปแบบสับเปลี่ยนหมุนเวียนและแบบสกัดกั้นสายการผลิต article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ความแตกต่างระหว่างข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่เกิดและไม่ได้เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้อง article
หน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง article
คำเตือน article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.