ReadyPlanet.com
dot dot
dot
dot
bulletขอเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างโดยไม่จ่าย ค่าชดเชย
bulletเลิกจ้างนอกข้อยกเว้น มาตรา 123
bulletลงชื่อสนับสนุนข้อเรียกร้อง
bulletข้อตกลงที่สิ้นผลผูกพัน
bulletห้ามทำสัญญาจ้างฯขัดข้อตกลงสภาพการจ้าง
dot
dot
bulletคำวินิจฉัยของศาลที่ไม่มีเหตุผลประกอบ
bulletการปฏิบัติตามคำพิพากษา
dot
dot
bulletสิทธิในการเรียกค่าขาดไร้อุปการะ
bullet“บุตร” หมายความว่าอย่างไร ?
bulletไม่ถือว่าได้รับความเดือดร้อน
dot
dot
bulletหนังสือเตือนไม่ใช่โทษ
bulletประมาทเลินเล่อ
bulletไม่ผิดยักยอกแต่เลิกจ้างเป็นธรรม
bulletปิดกิจการชั่วคราว
bulletความหมายของคำว่า “ผู้บังคับบัญชา”
bulletทำงานแต่ละทิ้งหน้าที่
bulletต้องเลือกใช้สิทธิ
bulletการระบุเหตุผลในหนังสือบอกเลิกจ้าง
bulletการใช้สิทธิร้องพนักงานตรวจแรงงานและคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พร้อมกัน
bulletการสละสิทธิไม่รับเงินประกัน
dot
dot
bulletฟ้องตัวแทนหางานในประเทศไทย
bulletฟ้องละเมิด
dot
dot
bulletจัดหางานไม่ได้รับอนุญาต
dot
dot
bulletประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจที่เป็นคุณต่อลูกจ้างแต่ออกภายหลังที่ลูกจ้างเกษียณอายุไปแล้ว
dot
dot
bulletศาลฎีกา
bulletศาลอุทธรณ์
bulletศาลแพ่ง
bulletศาลแพ่งกรุงเทพใต้
bulletศาลอาญา
bulletศาลแพ่งธนบุรี
bulletศาลแรงงานกลาง
bulletศาลล้มละลายกลาง
dot

dot
dot
dot
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
bulletกรมการจัดหางาน
bulletกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletสถาบันความปลอดภัยในการทำงาน
bulletศูนย์บริการข้อมูลและฝึกอบรมแรงงาน
bulletสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน
bulletสำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ
dot
dot
bulletบุษบาผู้น่าสงสาร
bulletขนมดังโกะ
bulletฤกษ์สึก
dot
dot
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำรายชั่วโมง
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ ซึ่งได้ประกาศให้มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550
bulletแนวทางในการส่งเสริมให้นักเรียน นิสิต และนักศึกษาเข้าทำงานในช่วงปิดภาคเรียนหรือภาคฤดูร้อน
bulletหลัก 7 ประการในการบริหารแรงงาน
bullet สาระสำคัญพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
bulletหญิงไทยกับกฎหมายแรงงานใหม่
bullet10 เคล็ดลับ เพื่อผูกใจพนักงานไว้กับองค์กร
bulletร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.........
bulletร่างพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ ฉบับคณะกรรมการกฤษฎีกา
bulletร่างพระราชบัญญัติค่าจ้างและรายได้
dot
dot
bulletโครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
bulletไทยเซฟตี้ดอทเน็ต
bulletสภาทนายความ
bulletทนายป๊อดดอทคอม
bulletสำนักกฎหมายทัศน์พงษ์ สกุลคู
bulletไทยจัสติสดอทคอม
bulletอาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
bulletThaiJobCenter.com
dot
dot
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนเมษายน 2550
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนพฤษภาคม 2550
dot
dot
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 3 หลักการพัฒนาตนเองให้เป็นพหูสูต
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 2 เทคนิคการปกครองคน 3 รูปแบบ
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 1
bulletเคล็ดลับ 12 ประการในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ( 12 Tips for Building Good Human Relations)
bulletผู้นำที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ ตอนที่...2
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ
bulletเรื่องของ ค คน โดยจามจุรีสีชมพู
bulletสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง


ประชาสัมพันธ์ Add Url ฟรี!


การจ่ายเงินสกุลอื่นตามสัญญาจ้างเป็นเงินไทยทำอย่างไร?จึงถูกกฎหมาย article

การจ่ายเงินสกุลอื่นตามสัญญาจ้างเป็นเงินไทยทำอย่างไร?จึงถูกกฎหมาย

 

สัญญาจ้างแรงงานกำหนดให้จ่ายค่าจ้างให้ลูกจ้างเป็นเงินดอลล่าห์สหรัฐ  ต่อมาลูกจ้างถูกเลิกจ้างนายจ้างไม่จ่ายค่าชดเชยในวันเลิกจ้าง  จนกระทั้งลูกจ้างฟ้องคดีต่อศาลเรียกให้ชำระค่าชดเชยเป็นเงินดอลล่าห์สหรัฐ  นายจ้างประสงค์จะจ่ายเงินค่าชดเชยให้เป็นเงินไทยต้องดำเนินการอย่างไรจึงจะชอบด้วยกฎหมาย  ?สิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อเกิดปัญหาเรื่องนี้  คือ  นายจ้างจำเป็นต้องจ่ายค่าชดเชยเป็นเงินดอลล่าห์สหรัฐตามสัญญาจ้างหรือไม่  จ่ายเป็นเงินไทยได้หรือไม่  ถ้าได้ถืออัตราแลกเปลี่ยนสถานที่ใด  และถืออัตราแลกเปลี่ยน    วันใด  คำตอบเรื่องนี้ก็คือ  เมื่อสัญญาเขียนไว้ว่าให้จ่ายค่าจ้างและเงินอื่นๆเป็นเงินดอลล่าห์สหรัฐนายจ้างย่อมต้องจ่ายเป็นเงินดอลล่าห์สหรัฐ  (ห้ามเบี้ยว)  เพื่อให้สัญญาเป็นไปตามสัญญา  แต่ถ้านายจ้างต้องการจ่ายเป็นเงินไทยแทนจะได้หรือไม่  คำตอบคือ ได้  เหตุเพราะกฎหมายแพ่งและพาณิชย์  มาตรา  196  กำหนดไว้ว่า  ถ้าหนี้เงินได้แสดงไว้เป็นเงินต่างประเทศ  ท่านว่าจะส่งใช้เป็นเงินไทยก็ได้  (เห็นไหมทำได้)  แล้วการแลกเปลี่ยนเงินนี้จะคิดอัตราแลกเปลี่ยน    สถานที่ใด  เรื่องนี้กฎหมายก็กำหนดไว้แล้วว่า  ให้คิดอัตราแลกเปลี่ยน    สถานที่ใช้เงิน  ซึ่งจะไม่มีปัญหาในทางปฎิบัติเนื่องจากไม่ว่าจะเป็นกรุงเทพหรือจังหวัดใดๆในประเทศไทยอัตราแลกเปลี่ยนก็ไม่แตกต่างกัน  แล้วอัตราแลกเปลี่ยนใช้อัตราของราชการหรืออัตราแลกเปลี่ยนในตลาดเสรีซึ่งอาจแตกต่างกันโดยเฉพาะอัตราที่ราชการกำหนดมักจะต่ำกว่าอัตราแลกเปลี่ยนในตลาดเสรี  เรื่องนี้ศาลฎีกาได้วินิจฉัยว่า  ให้ถืออัตราแลกเปลี่ยนในตลาดเสรี  คือ  อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ยของธนาคารพาณิชย์ต่างๆ  โดยถือเอาอัตราธนาคารพาณิชย์ที่ทำการขายเงินต่างประเทศชนิดนั้นๆเป็นเงินไทย  (ฎีกาที่  1693/2493)    แล้วอัตราแลกเปลี่ยนนี้ถืออัตราที่ธนาคารพาณิชย์ซื้อหรือขายเงินสกุลนั้นๆละ  เรื่องนี้เคยเถียงกัน  ศาลฎีกาได้วินิจฉัยว่า  จำเลยเป็นหนี้โจทก์เป็นเงินเหรียญฮ่องกง  เมื่อจำเลยชำระหนี้เป็นเงินไทยก็ต้องถือตามอัตราแลกเปลี่ยนที่ธนาคารขายเหรียญฮ่องกงนั้น  มิใช่อัตราที่ธนาคารรับซื้อ  (ฎีกาที่  419/2536)  ชัดไหม  แล้วอัตราแลกเปลี่ยน    เวลาชำระหนี้  หมายความว่าอย่างไร  จะหมายถึงอัตราแลกเปลี่ยนเมื่อเวลาชำระหนี้จริงๆ  หรืออัตราแลกเปลี่ยนเมื่อหนี้ถึงกำหนดชำระ  กรณีเงินค่าชดเชยกฎหมายถือว่าหนี้ถึงกำหนดชำระในวันเลิกจ้าง  แต่นายจ้างยังไม่ได้ชำระจนกระทั้งถูกฟ้องคดีต่อศาลแล้วอัตราแลกเปลี่ยนในวันเลิกจ้างกับวันที่ต้องการชำระหนี้จริงๆแตกต่างกันจะถืออัตราแลกเปลี่ยนในวันใดจึงจะถูกต้องตามกฎหมาย  เรื่องนี้ศาลฎีกาให้ถืออัตราแลกเปลี่ยน    วันที่มีการชำระหนี้จริง  มิใช่วันที่หนี้ถึงกำหนดชำระ  แต่วันที่ชำระหนี้จริงก็อาจมิได้เป็นไปตามประสงค์ของลูกหนี้เสมอไป  ศาลฎีกาเคยพิพากษาให้การชำระหนี้เงินตราต่างประเทศด้วยเงินไทยตามอัตราแลกเปลี่ยนโดยเฉลี่ยของธนาคารพาณิชย์ในวันที่ศาลฎีกาพิพากษา  ถ้าอัตราแลกเปลี่ยนในวันดังกล่าวไม่มี  ก็ให้ถือเอาวันสุดท้ายที่มีอัตราแลกเปลี่ยนเช่นว่านั้นก่อนวันพิพากษา  (ฎีกาที่  33523/2529)  อัตราแลกเปลี่ยน    วันที่ได้มีการชำระหนี้นั้นศาลฎีกาจะใช้ดุลพินิจตามความเหมาะสมแก่รูปคดีแต่ละคดีจึงอาจแตกต่างกัน  เช่น  ศาลฎีกาเคยพิพากษาว่า  ที่ศาลล่างทั้งสองพิพากษาให้คิดอัตราแลกเปลี่ยน    วันที่ได้มีการชำระเงินนั้น  น่าจะไม่สะดวกแก่การบังคับคดี  สมควรแก้ไขเป็นอัตราแลกเปลี่ยนในวันที่ศาลฎีกาพิพากษา  (ฎีกาที่  3352/2529)  นอกจากนี้ยังถือว่าปัญหาเรื่องนี้เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน  แม้ไม่มีคู่ความฝ่ายใดฎีกาขึ้นมา  ศาลฎีกาก็ยกขึ้นวินิจฉัยเองได้  (ฎีกาที่  3529/2542)  เห็นไหม  เพียงแค่อัตราแลกเปลี่ยนและวันที่ชำระหนี้ก็ยังมีปัญหาให้คบคิดกันมากมาย แล้วเกี่ยวกับการชำระหนี้เป็นเงินต่างประเทศนี้ยังมีปัญหาอื่นให้คบคิดกันอีกหรือไม่  (มีซิ)  มีอีกหลายเรื่องด้วย  เช่น  ลูกจ้างฟ้องศาลบังคับให้นายจ้างชำระค่าชดเชยเป็นเงินดอลล่าห์สหรัฐ  ศาลจะพิพากษาให้นายจ้างชำระเป็นเงินไทยแทนได้หรือไม่  คำตอบคือ  ไม่ได้  เนื่องจากเป็นสิทธิของลูกหนี้ที่จะเลือกปฎิบัติการชำระหนี้ศาลไม่มีอำนาจเปลี่ยนแปลงสิทธิของลูกหนี้ได้โดยลำพัง  (ฎีกาที่  1522/2544)  แล้วถ้าโจทก์บรรยายฟ้องขอให้ชำระหนี้เป็นเงินดอลล่าห์สหรัฐแต่คิดคำนวณอัตราแลกเปลี่ยนเป็นเงินไทยมาพร้อมเสร็จ  (ขยัน)  ตามจำนวนที่ปรากฏในคำขอท้ายฟ้อง (ถือวันใดเป็นฐานในการคำนวณก็ไม่รู้)   เมื่อศาลต้องพิพากษาให้นายจ้างชำระค่าชดเชยเป็นเงินดอลล่าห์สหรัฐ ถืออัตราแลกเปลี่ยน    วันชำระหนี้จริง  ตามที่กฎหมายกำหนด  ถ้าในวันชำระหนี้จริงอัตราแลกเปลี่ยนสูงกว่าวันที่โจทก์คำนวณมาท้ายฟ้อง  เช่นนี้  โจทก์จะมีสิทธิตามอัตราแลกเปลี่ยน    วันชำระจริงหรือไม่  เพียงใด  คำตอบคือ  มีสิทธิตามอัตราแลกเปลี่ยนในวันที่ชำระจริง  แต่ต้องไม่เกินอัตราแลกเปลี่ยนที่โจทก์คำนวณมาท้ายฟ้อง  เรื่องนี้เป็นไปตามหลักกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งที่ห้ามมิให้ศาลพิพากษาเกินคำขอท้ายฟ้อง (ฎีกาที่ 1522/2544)เป็นต้น




กฎหมายอื่นใน กฎหมายแรงงาน

เกษียณอายุ กับ การบอกกล่าวล่วงหน้า article
ลิขสิทธิ์ กับ ลูกจ้างผู้รับเหมาแรงงาน article
หลักการแสดงเจตนา กับ การเจรจาข้อเรียกร้อง article
การปรับค่าจ้างย้อนหลัง กับ ดอกเบี้ย article
ลูกจ้างทำหนังสือรับสภาพหนี้ให้นายจ้าง โดยมีผู้ค้ำประกันคนใหม่ยอมรับผิด ผู้ค้ำประกันคนเก่าพ้นความรับผิดหรือไม่ ? article
No Work No Pay
จ่ายค่าชดเชยอย่างมีเงื่อนไข กับ สิทธิการได้รับดอกเบี้ย
ทำสัญญาจ้างงานแล้ว ก่อนถึงวันเริ่มงาน เปลี่ยนใจยกเลิกสัญญา ผลทางกฎหมายเป็นอย่างไร ?
บอกเลิกจ้างขณะข้อตกลงมีผลบังคับ แต่ให้มีผลในวันที่ข้อตกลงสิ้นอายุแล้ว ผลทางกฎหมาย ?
ลงชื่อทำงานล่วงเวลาแล้วขอยกเลิก ผลทางกฎหมายเป็นอย่างไร ?
เป็นลูกจ้างก่อนนายจ้างเป็นนิติบุคคลอายุงานนับอย่างไร ?
ละเมิด กับ ผิดสัญญา เหมือนและต่างกันอย่างไร ? article
อายุความ กรณีละเมิด กับ ผิดสัญญา ต่างกันอย่างไร ? article
ดอกเบี้ย กรณีละเมิด กับ ผิดสัญญา ต่างกันอย่างไร ? article
การอุทธรณ์คัดค้านคำพิพากษาของศาลแรงงาน กรณี เงินเพิ่ม กับ ความรับผิดในการชำระเงินเพิ่ม article
เงินทดแทนกรณีว่างงาน กับ การเกษียณอายุ article
นายจ้างบอกเลิกจ้างแล้วยกเลิกได้หรือไม่ ? article
นายจ้างบอกเลิกจ้างแล้วขอเลื่อนเวลาให้เร็วขึ้นได้หรือไม่ ? article
ลูกจ้างแจ้งลาออกล่วงหน้าแล้วขอเลื่อนเวลาให้เร็วขึ้นได้หรือไม่ ? article
คณะกรรมการสหภาพที่ถูกนายทะเบียนเพิกถอน ตอน 2 ..ไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้ article
คณะกรรมการสหภาพที่ถูกนายทะเบียนเพิกถอน ตอนที่ 1 article
การประนีประนอมยอมความค่าเสียหายตามคำสั่งคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ article
ปัญหาดอกเบี้ยและเงินเพิ่ม กรณีลูกจ้างปฏิเสธเงินชดเชย article
ความเห็นในเชิงกฎหมายกับการทำหน้าที่ที่ปรึกษากฎหมายแรงงานสัมพันธ์ article
อายุความ กับ วันหยุดพักผ่อนประจำปี article
ผู้ค้ำประกัน 2 คน ค้ำประกันการทำงานลูกจ้างคนเดียวกัน รับผิดอย่างไร article
การจ่ายค่าจ้าง กับ การไม่มอบงานให้ทำ article
ระยะเวลา อายุความ การเริ่มเจรจาข้อเรียกร้องใน 3 วัน article
การทำหน้าที่ฝ่ายบุคคลกับความรับผิดในทางแพ่ง article
การฟ้องเพิกถอนคำสั่งคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ กับ อายุความ article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.