ReadyPlanet.com
dot dot
dot
dot
bulletขอเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างโดยไม่จ่าย ค่าชดเชย
bulletเลิกจ้างนอกข้อยกเว้น มาตรา 123
bulletลงชื่อสนับสนุนข้อเรียกร้อง
bulletข้อตกลงที่สิ้นผลผูกพัน
bulletห้ามทำสัญญาจ้างฯขัดข้อตกลงสภาพการจ้าง
dot
dot
bulletคำวินิจฉัยของศาลที่ไม่มีเหตุผลประกอบ
bulletการปฏิบัติตามคำพิพากษา
dot
dot
bulletสิทธิในการเรียกค่าขาดไร้อุปการะ
bullet“บุตร” หมายความว่าอย่างไร ?
bulletไม่ถือว่าได้รับความเดือดร้อน
dot
dot
bulletหนังสือเตือนไม่ใช่โทษ
bulletประมาทเลินเล่อ
bulletไม่ผิดยักยอกแต่เลิกจ้างเป็นธรรม
bulletปิดกิจการชั่วคราว
bulletความหมายของคำว่า “ผู้บังคับบัญชา”
bulletทำงานแต่ละทิ้งหน้าที่
bulletต้องเลือกใช้สิทธิ
bulletการระบุเหตุผลในหนังสือบอกเลิกจ้าง
bulletการใช้สิทธิร้องพนักงานตรวจแรงงานและคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พร้อมกัน
bulletการสละสิทธิไม่รับเงินประกัน
dot
dot
bulletฟ้องตัวแทนหางานในประเทศไทย
bulletฟ้องละเมิด
dot
dot
bulletจัดหางานไม่ได้รับอนุญาต
dot
dot
bulletประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจที่เป็นคุณต่อลูกจ้างแต่ออกภายหลังที่ลูกจ้างเกษียณอายุไปแล้ว
dot
dot
bulletศาลฎีกา
bulletศาลอุทธรณ์
bulletศาลแพ่ง
bulletศาลแพ่งกรุงเทพใต้
bulletศาลอาญา
bulletศาลแพ่งธนบุรี
bulletศาลแรงงานกลาง
bulletศาลล้มละลายกลาง
dot

dot
dot
dot
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
bulletกรมการจัดหางาน
bulletกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletสถาบันความปลอดภัยในการทำงาน
bulletศูนย์บริการข้อมูลและฝึกอบรมแรงงาน
bulletสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน
bulletสำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ
dot
dot
bulletบุษบาผู้น่าสงสาร
bulletขนมดังโกะ
bulletฤกษ์สึก
dot
dot
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำรายชั่วโมง
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ ซึ่งได้ประกาศให้มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550
bulletแนวทางในการส่งเสริมให้นักเรียน นิสิต และนักศึกษาเข้าทำงานในช่วงปิดภาคเรียนหรือภาคฤดูร้อน
bulletหลัก 7 ประการในการบริหารแรงงาน
bullet สาระสำคัญพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
bulletหญิงไทยกับกฎหมายแรงงานใหม่
bullet10 เคล็ดลับ เพื่อผูกใจพนักงานไว้กับองค์กร
bulletร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.........
bulletร่างพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ ฉบับคณะกรรมการกฤษฎีกา
bulletร่างพระราชบัญญัติค่าจ้างและรายได้
dot
dot
bulletโครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
bulletไทยเซฟตี้ดอทเน็ต
bulletสภาทนายความ
bulletทนายป๊อดดอทคอม
bulletสำนักกฎหมายทัศน์พงษ์ สกุลคู
bulletไทยจัสติสดอทคอม
bulletอาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
bulletThaiJobCenter.com
dot
dot
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนเมษายน 2550
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนพฤษภาคม 2550
dot
dot
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 3 หลักการพัฒนาตนเองให้เป็นพหูสูต
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 2 เทคนิคการปกครองคน 3 รูปแบบ
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 1
bulletเคล็ดลับ 12 ประการในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ( 12 Tips for Building Good Human Relations)
bulletผู้นำที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ ตอนที่...2
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ
bulletเรื่องของ ค คน โดยจามจุรีสีชมพู
bulletสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง


ประชาสัมพันธ์ Add Url ฟรี!


คำเตือน article

   คำเตือน

 

คำเตือนตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานที่จะเป็นผลทำให้ลูกจ้างที่ถูกเลิกจ้างไม่มีสิทธิได้รับค่าชดเชยนั้น จะต้องมีลักษณะ 4 ประการ ดังต่อไปนี้

     ก.ต้องทำเป็นหนังสือ นายจ้างต้องเตือนโดยทำเป็นลายลักษณ์อักษรแต่ไม่จำต้องมีลายมือชื่อของผู้เตือน และจะบังคับให้ลูกจ้างลงลายมือชื่อในหนังสือเตือนก็ไม่ได้ เพราะลูกจ้างไม่มีหน้าที่ตามกฎหมายที่จะต้องลงลายมือชื่อรับทราบคำเตือน

     ข.ต้องระบุให้ชัดเจนถึงผู้กระทำความผิด ลักษณะของความผิด ตลอดจนรายละเอียดเกี่ยวกับการกระทำความผิดของลูกจ้าง

     ค.ต้องมีข้อความปราบลูกจ้างหรือระบุห้ามมิให้ลูกจ้างทำความผิดเดียวกันอีก หากยังกระทำอีกก็จะต้องถูกลงโทษ โดยไม่จำเป็นต้องระบุว่าลงโทษสถานใด

     ง.ระยะเวลาใช้บังคับคำเตือนต้องไม่เกิน 1 ปี นับแต่วันที่ลูกจ้างกระทำผิด

 

ที่มา : โดย วิจิตรา (ฟุ้งลัดดา) วิเชียรชม รศ. ดร., กฎหมายแรงงาน 2..กฎหมายคุ้มครองแรงงาน พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์วิญญูชน 2542 หน้า 163 -164

 

หลักเกณฑ์หนังสือเตือน ประกอบด้วย

 

    1.ผู้ออกหนังสือเตือนต้องเป็นนายจ้าง (ฎ.4981-4982/2528) ทัณฑ์บนไม่ใช่คำเตือน (ฎ.1252/2526)

    2.คำเตือนต้องทำเป็นหนังสือ/ลายลักษณ์อักษรเตือนวาจาถือว่าไม่มีผลตามกฎหมายต่อให้เตือนด้วยวาจากันหลายร้อยครั้งมาเป็นเหตุเลิกจ้างไม่จ่ายค่าชดเชยไม่ได้ (ฎ.3077/2528)

    3.คำเตือนต้องระบุข้อเท็จจริงการกระทำผิดวินัยโดยย่อเฉพาะเจาะจงสอดคล้องกับระเบียบ บริษัทด้วย

     4.คำเตือนต้องมีข้อความห้ามทำอย่างที่โดนเตือนซ้ำให้อีก

     5.ผู้ถูกเตือนต้องทราบ ทำให้ทราบก็โดยการแจ้งให้เขาทราบ เช่น ให้เซ็นรับทราบ, อ่านให้ฟังพร้อมพยานรู้เห็น 2 คน, ปิดประกาศ, ส่งไปยังที่อยู่ที่ได้กรอกสถานภาพไว้, ไม่ยอมลงชื่อแต่แจ้งให้ทราบ (คือได้ยินแล้ว)ถือว่าทราบแล้ว

     6.อายุคำเตือนอย่าเกินหนึ่งปี นับจากวันที่ลูกจ้างกระทำผิด

     7.ถูกเตือนแล้วทำความผิดซ้ำในลักษณะเดียวกับความผิดที่ถูกเตือน (ก็เลิกจ้างไม่จ่ายค่าชดเชยได้ทันที)    (ฎ.683/2525, ฎ.147-1048/2531)

ที่มา:โดย กฤษฎ์ อุทัยรัตน์, เนติบัญญัติ (กฎหมาย) คุ้มครองแรงงาน 2541 "ภาคเบ็ดเสร็จ" พิมพ์ครั้งที่ 2 กันยายน 2542. หน้า 396 - 397

 

จากคำเตือนทั้งสองเล่มจะมีบางส่วนที่คล้ายกันและบางส่วนที่เพิ่มเติมขึ้นมาก็ลองนำไปประยุกต์ใช้กับองค์กรของท่าน ไหนๆจะเตือนทั้งทีเอาให้ถูกต้องไปเลย !




คำอธิบาย กฎหมายแรงงาน

ความแตกต่างระหว่างมาตรา 31 วรรคหนึ่งกับมาตรา 121 (1) article
การลาเพื่อกิจการสหภาพแรงงาน
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน ตอนที่ 3 การนัดหยุดงานรูปแบบสับเปลี่ยนหมุนเวียนและแบบสกัดกั้นสายการผลิต article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ความแตกต่างระหว่างข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่เกิดและไม่ได้เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้อง article
หน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.