ReadyPlanet.com
dot dot
dot
dot
bulletขอเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างโดยไม่จ่าย ค่าชดเชย
bulletเลิกจ้างนอกข้อยกเว้น มาตรา 123
bulletลงชื่อสนับสนุนข้อเรียกร้อง
bulletข้อตกลงที่สิ้นผลผูกพัน
bulletห้ามทำสัญญาจ้างฯขัดข้อตกลงสภาพการจ้าง
dot
dot
bulletคำวินิจฉัยของศาลที่ไม่มีเหตุผลประกอบ
bulletการปฏิบัติตามคำพิพากษา
dot
dot
bulletสิทธิในการเรียกค่าขาดไร้อุปการะ
bullet“บุตร” หมายความว่าอย่างไร ?
bulletไม่ถือว่าได้รับความเดือดร้อน
dot
dot
bulletหนังสือเตือนไม่ใช่โทษ
bulletประมาทเลินเล่อ
bulletไม่ผิดยักยอกแต่เลิกจ้างเป็นธรรม
bulletปิดกิจการชั่วคราว
bulletความหมายของคำว่า “ผู้บังคับบัญชา”
bulletทำงานแต่ละทิ้งหน้าที่
bulletต้องเลือกใช้สิทธิ
bulletการระบุเหตุผลในหนังสือบอกเลิกจ้าง
bulletการใช้สิทธิร้องพนักงานตรวจแรงงานและคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พร้อมกัน
bulletการสละสิทธิไม่รับเงินประกัน
dot
dot
bulletฟ้องตัวแทนหางานในประเทศไทย
bulletฟ้องละเมิด
dot
dot
bulletจัดหางานไม่ได้รับอนุญาต
dot
dot
bulletประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจที่เป็นคุณต่อลูกจ้างแต่ออกภายหลังที่ลูกจ้างเกษียณอายุไปแล้ว
dot
dot
bulletศาลฎีกา
bulletศาลอุทธรณ์
bulletศาลแพ่ง
bulletศาลแพ่งกรุงเทพใต้
bulletศาลอาญา
bulletศาลแพ่งธนบุรี
bulletศาลแรงงานกลาง
bulletศาลล้มละลายกลาง
dot

dot
dot
dot
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
bulletกรมการจัดหางาน
bulletกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletสถาบันความปลอดภัยในการทำงาน
bulletศูนย์บริการข้อมูลและฝึกอบรมแรงงาน
bulletสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน
bulletสำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ
dot
dot
bulletบุษบาผู้น่าสงสาร
bulletขนมดังโกะ
bulletฤกษ์สึก
dot
dot
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำรายชั่วโมง
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ ซึ่งได้ประกาศให้มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550
bulletแนวทางในการส่งเสริมให้นักเรียน นิสิต และนักศึกษาเข้าทำงานในช่วงปิดภาคเรียนหรือภาคฤดูร้อน
bulletหลัก 7 ประการในการบริหารแรงงาน
bullet สาระสำคัญพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
bulletหญิงไทยกับกฎหมายแรงงานใหม่
bullet10 เคล็ดลับ เพื่อผูกใจพนักงานไว้กับองค์กร
bulletร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.........
bulletร่างพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ ฉบับคณะกรรมการกฤษฎีกา
bulletร่างพระราชบัญญัติค่าจ้างและรายได้
dot
dot
bulletโครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
bulletไทยเซฟตี้ดอทเน็ต
bulletสภาทนายความ
bulletทนายป๊อดดอทคอม
bulletสำนักกฎหมายทัศน์พงษ์ สกุลคู
bulletไทยจัสติสดอทคอม
bulletอาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
bulletThaiJobCenter.com
dot
dot
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนเมษายน 2550
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนพฤษภาคม 2550
dot
dot
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 3 หลักการพัฒนาตนเองให้เป็นพหูสูต
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 2 เทคนิคการปกครองคน 3 รูปแบบ
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 1
bulletเคล็ดลับ 12 ประการในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ( 12 Tips for Building Good Human Relations)
bulletผู้นำที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ ตอนที่...2
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ
bulletเรื่องของ ค คน โดยจามจุรีสีชมพู
bulletสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง


ประชาสัมพันธ์ Add Url ฟรี!


หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่1... article

หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง

ตอนที่1....

 

1.      อย่าเขียนให้ข้อบังคับการทำงานขัดต่อกฎหมาย

เนื่องจากกฎหมายคุ้มครองแรงงานเป็นกฎหมายมหาชน ดังนั้นคู่สัญญาไม่ว่าจะเป็นฝ่ายนายจ้างหรือลูกจ้างหรือทั้งสองฝ่ายไม่สามารถจัดการหรือตกลงกันเป็นอย่างอื่นให้ผิดแผกแตกต่างไปจากกฎหมายได้เลย ตัวอย่างเช่น หากนายจ้างกำหนดลงในข้อบังคับการทำงานว่า “เมื่อลูกจ้างอยู่ในช่วงระยะเวลาทดลองงาน นายจ้างสงวนสิทธิที่จะเลิกจ้างลูกจ้างเมื่อใดก็ได้ โดยไม่จำเป็นที่จะต้องแจ้งให้ลูกจ้างทราบล่วงหน้าและไม่จำเป็นต้องจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า”

            ดังนั้น แม้จะมีข้อบังคับกำหนดไว้เช่นนั้น เมื่อจะเลิกจ้างลูกจ้างเพราะเหตุไม่ผ่านการทดลองงานและเลิกจ้างไม่เกินวันที่ 119 นับแต่วันเริ่มทำงาน แม้ไม่อยู่ในข่ายที่จะต้องจ่ายค่าชดเชยตามกฎหมายก็ตาม แต่นายจ้างก็ยังคงมีหน้าที่ต้องจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าเช่นเดิม (คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5249/2545) และด้วยเหตุที่กฎหมายคุ้มครองแรงงานเป็นกฎหมายมหาชน ดังนั้น ในการตีความข้อบังคับการทำงานจึงต้องตีความอย่างเคร่งครัดเพื่อรักษาสิทธิประโยชน์ของลูกจ้างอีกด้วย ตัวอย่างเช่น หากนายจ้างมีข้อบังคับการทำงานกำหนดว่า “เมื่อมีความจำเป็นนายจ้างอาจให้ลูกจ้างทำงานล่วงเวลา โดยนายจ้างจะกำหนดให้ลูกจ้างทราบล่วงหน้าตามสมควรก็ได้” แม้นายจ้างจะกำหนดได้เช่นนั้นก็ตาม แต่ในภาคปฏิบัติการกำหนดให้ลูกจ้างทำงานล่วงเวลา นายจ้างต้องกำหนดเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดของการทำงานล่วงเวลาไว้ล่วงหน้าด้วย หากนายจ้างประกาศให้ลูกจ้างทำงานล่วงเวลาโดยไม่ได้กำหนดระยะเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดของการทำงานล่วงเวลาให้ชัดเจนแล้วก็จะกลายเป็นประกาศให้ทำงานล่งเวลาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย แม้บรรดาลูกจ้างทั้งหลายจะลงลายมือชื่อให้ความยินยอมทำงานล่วงเวลาแล้วก็ตามก็ไม่มีผลผูกพันให้ลูกจ้างนั้นต้องทำงานล่วงเวลาตามประกาศของนายจ้าง (คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4121/2543)

2.      เขียนให้สอดคล้องกับแนวคำพิพากษาของศาลฎีกาที่มีเหตุผลเดียวกัน

มีสถานประกอบการจำนวนไม่น้อยมักกำหนดไว้ในข้อบังคับการทำงานในหมวดวินัยและการลงโทษว่า “ลูกจ้างต้องทำงานให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด” พอลูกจ้างคนใดคนหนึ่งทำงานไม่ได้ตามมาตรฐานที่กำหนดก็ลงโทษด้วยการตักเตือนเป็นหนังสือก็ดีหรือทำทัณฑ์บนก็ดี อันเป็นโทษทางวินัยอย่างหนึ่งซึ่งในสายตาของศาลฎีกาแล้วการที่ลูกจ้างทำงานต่ำกว่ามาตรฐานไม่ถือว่าเป็นการฝ่าในวินัยหรือข้อบังคับการทำงาน (คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2931-2932/2530)

ในประเด็นของการทำงานไม่ได้มาตรฐานงานที่นายจ้างกำหนดจึงไม่อาจกล่าวได้เลยว่าลูกจ้างมีเจตนาร้ายต่อนายจ้างหรือกิจการของนายจ้าง ดังนั้นเมื่อศาลฎีกามีแนววินิจฉัยอกมาเช่นนั้นไซร้ ผลที่ตามมาก็คือ หากลูกจ้างสามารถฟ้องเพิกถอนคำเตือนของนายจ้างได้แล้วข้อบังคับของนายจ้างก็จะมีความศักดิ์สิทธิ์น่าเชื่อถือได้อย่างไรในสายตาลูกจ้างทั้งหมด ทางแก้ไขปัญหาก็คือ อย่าเขียนข้อความว่า “ลูกจ้างต้องทำงานให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด” ลงในข้อบังคับการทำงานในส่วนว่าด้วยวินัยและการลงโทษแต่ให้ไปเขียนในเอกสารเกี่ยวกับว่าจ้างอย่างอื่น เช่น ในตัวสัญญาจ้างแรงงาน หรือ CODE OF ETHICS ของสถานประกอบการ อย่างไรก็ตาม การที่ลูกจ้างทำงานไม่ได้ตามมาตรฐานไม่ใช่เรื่องที่เราจะปล่อยให้เกิดเหตุการณ์เช่นนี้โดยไม่ได้แก้ไขอะไรเลย ทางแก้ก็แคือให้การฝึกอบรมเพิ่มเติม หรือเปลี่ยนงาน (JOB ROTATION) ที่เหมาะสมกับเขา หากให้โอกาสแล้วลูกจ้างก็ยังทำไม่ได้อีกอาจถือได้ว่าลูกจ้างนั้นหย่อนสมรรถภาพในการทำงานแล้วเป็นเหตุให้นายจ้างสามารถเลิกจ้างได้ แต่ต้องจ่ายค่าชดเชยและเป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรมแล้ว  (คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3634/2525) .........    

 

เรื่องโดย ....เกรียงไกร   เจียมบุญศรี

โปรดติดตามตอนต่อไป...............

11/1/49




ห้องรับแขก นักกฎหมายแรงงาน

ปัญหาการทำงานล่วงเวลาของพนักงานขับรถในธุรกิจการขนส่งทางบก article
ความไม่คืบหน้าของการจัดทำกฎหมายคุ้มครองผู้ทำงานบ้าน
ปรัชญาของกฎหมายคุ้มครองแรงงาน
ปกิณกะคดีว่าด้วย การแก้ไขปัญหาลูกจ้างรับเหมาค่าแรง ยิ่งแก้ก็ยิ่งยุ่งไปกันใหญ่ ตอนที่ 2 แนวทางการแก้ไขปัญหาของภาครัฐ
ปกิณกะคดีว่าด้วย การแก้ไขปัญหาลูกจ้างรับเหมาค่าแรง ยิ่งแก้ก็ยิ่งยุ่งไปกันใหญ่ ตอนที่ 1
สิทธิหน้าที่และความคุ้มครองตามกฎหมายสำหรับลูกจ้างทดลองงาน
สถานการณ์ผู้รับงานไปทำที่บ้าน article
สภาพการจ้างโดยปริยาย article
สภาพการจ้างโดยปริยาย article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 9 article
การจ้างแรงงานภายนอกการบินไทยเป็นการขาดธรรมมาภิบาลจริงหรือ? article
การจ้างแรงงานภายนอกการบินไทยเป็นการขาดธรรมมาภิบาลจริงหรือ? ตอนที่ 2 ความหมายของ นายจ้าง ตาม กฎหมายคุ้มครองแรงงาน article
การจ้างแรงงานภายนอกการบินไทยเป็นการขาดธรรมมาภิบาลจริงหรือ? article
ความสำคัญของกฎหมายแรงงานไทย article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 8 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 7 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 6 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ ...5 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ ....4 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 3 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 2 article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.