ReadyPlanet.com
dot dot
dot
dot
bulletขอเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างโดยไม่จ่าย ค่าชดเชย
bulletเลิกจ้างนอกข้อยกเว้น มาตรา 123
bulletลงชื่อสนับสนุนข้อเรียกร้อง
bulletข้อตกลงที่สิ้นผลผูกพัน
bulletห้ามทำสัญญาจ้างฯขัดข้อตกลงสภาพการจ้าง
dot
dot
bulletคำวินิจฉัยของศาลที่ไม่มีเหตุผลประกอบ
bulletการปฏิบัติตามคำพิพากษา
dot
dot
bulletสิทธิในการเรียกค่าขาดไร้อุปการะ
bullet“บุตร” หมายความว่าอย่างไร ?
bulletไม่ถือว่าได้รับความเดือดร้อน
dot
dot
bulletหนังสือเตือนไม่ใช่โทษ
bulletประมาทเลินเล่อ
bulletไม่ผิดยักยอกแต่เลิกจ้างเป็นธรรม
bulletปิดกิจการชั่วคราว
bulletความหมายของคำว่า “ผู้บังคับบัญชา”
bulletทำงานแต่ละทิ้งหน้าที่
bulletต้องเลือกใช้สิทธิ
bulletการระบุเหตุผลในหนังสือบอกเลิกจ้าง
bulletการใช้สิทธิร้องพนักงานตรวจแรงงานและคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พร้อมกัน
bulletการสละสิทธิไม่รับเงินประกัน
dot
dot
bulletฟ้องตัวแทนหางานในประเทศไทย
bulletฟ้องละเมิด
dot
dot
bulletจัดหางานไม่ได้รับอนุญาต
dot
dot
bulletประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจที่เป็นคุณต่อลูกจ้างแต่ออกภายหลังที่ลูกจ้างเกษียณอายุไปแล้ว
dot
dot
bulletศาลฎีกา
bulletศาลอุทธรณ์
bulletศาลแพ่ง
bulletศาลแพ่งกรุงเทพใต้
bulletศาลอาญา
bulletศาลแพ่งธนบุรี
bulletศาลแรงงานกลาง
bulletศาลล้มละลายกลาง
dot

dot
dot
dot
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
bulletกรมการจัดหางาน
bulletกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletสถาบันความปลอดภัยในการทำงาน
bulletศูนย์บริการข้อมูลและฝึกอบรมแรงงาน
bulletสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน
bulletสำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ
dot
dot
bulletบุษบาผู้น่าสงสาร
bulletขนมดังโกะ
bulletฤกษ์สึก
dot
dot
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำรายชั่วโมง
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ ซึ่งได้ประกาศให้มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550
bulletแนวทางในการส่งเสริมให้นักเรียน นิสิต และนักศึกษาเข้าทำงานในช่วงปิดภาคเรียนหรือภาคฤดูร้อน
bulletหลัก 7 ประการในการบริหารแรงงาน
bullet สาระสำคัญพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
bulletหญิงไทยกับกฎหมายแรงงานใหม่
bullet10 เคล็ดลับ เพื่อผูกใจพนักงานไว้กับองค์กร
bulletร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.........
bulletร่างพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ ฉบับคณะกรรมการกฤษฎีกา
bulletร่างพระราชบัญญัติค่าจ้างและรายได้
dot
dot
bulletโครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
bulletไทยเซฟตี้ดอทเน็ต
bulletสภาทนายความ
bulletทนายป๊อดดอทคอม
bulletสำนักกฎหมายทัศน์พงษ์ สกุลคู
bulletไทยจัสติสดอทคอม
bulletอาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
bulletThaiJobCenter.com
dot
dot
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนเมษายน 2550
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนพฤษภาคม 2550
dot
dot
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 3 หลักการพัฒนาตนเองให้เป็นพหูสูต
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 2 เทคนิคการปกครองคน 3 รูปแบบ
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 1
bulletเคล็ดลับ 12 ประการในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ( 12 Tips for Building Good Human Relations)
bulletผู้นำที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ ตอนที่...2
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ
bulletเรื่องของ ค คน โดยจามจุรีสีชมพู
bulletสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง


ประชาสัมพันธ์ Add Url ฟรี!


หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ ...5 article

หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง 

ตอนที่ 5.........

 

6. คงอำนาจการจัดการของนายจ้างให้มากที่สุด

            หัวข้อนี้จะเป็นหัวข้อที่มีความสำคัญมากที่สุดของบทความนี้ ถือว่าเป็นหัวใจของบทความนี้ก็ว่าได้ คำว่าอำนาจจัดการภาษาอังกฤษใช้คำว่า MANAGEMENT RIGHT อาจเรียกว่าเป็นอำนาจปกครองบังคับบัญชาก็ได้ ซึ่งก็คืออำนาจของนายจ้างในการสั่งเกี่ยวกับการทำงาน การควบคุม การติดตามงานและการให้คุณให้โทษต่อลูกจ้าง ซึ่งเป็นพื้นฐานหลักของความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง หากนายจ้างไม่มีอำนาจบังคับบัญชาเหนือลูกจ้างแล้วไซร้ไม่ถือว่ามีนิติสัมพันธ์ตามสัญญาจ้างแรงงาน การสั่งดังกล่าวต้ออยู่ในขอบเขตของงาน เช่น คำสั่งเกี่ยวกับวิธีการทำงาน คำสั่งกำหนดวันเวลาและสถานที่ทำงาน (คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 255/2528 การให้ลูกจ้างปฏิบัติหน้าที่เป็นอำนาจของนายจ้างและผู้บังคับบัญชาที่จะสั่งตามความเป็นจริงและตามสมควรแก่กรณี ลูกจ้างไม่มีสิทธิจะเลือกเวลาทำงานได้ตามความพอใจของตนเอง) ความเป็นระเบียบเรียบร้อยในการทำงาน ความปลอดภัยในการทำงาน ประสิทธิภาพประสิทธิผลในการทำงาน ในขอบเขตของข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง (คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 330/2525) ด้วย และยังต้องเป็นคำสั่งที่เป็นธรรม (คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1896/2543 วินิจฉัยว่า การที่ผู้บังคับบัญชาให้ลูกจ้างซึ่งปกติมีหน้าที่รับ-ส่ง บรรจุน้ำมันลงถังไปตักน้ำมันและไขน้ำมันจากท่อรวมในโรงงานซึ่งมีน้ำมันสกปรกไหลผ่าน จึงเป็นกาสรสั่งให้ทำงานนอกหน้าที่ของลูกจ้าง ลายจ้างไม่เคยสั่งให้ผู้อื่นทำมาก่อน คำสั่งของผู้บังคับบัญชาจึงเป็นการกลั่นแกล้งลูกจ้างและเป็นคำสั่งที่ไม่เป็นธรรม) ทั้งต้องเป็นคำสั่งที่ไม่พ้นวิสัยที่คนธรรมดาทั่วไปสมารถปฏิบัติตามได้ (คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2950/2523 วินิจฉัยว่า คำสั่งให้ลูกจ้างเรียงอิฐให้ได้วันละ 8 คันรถเป็นการเกินความสามารถที่ลูกจ้างจะทำได้จึงมิใช่กรณีที่ลูกจ้างจงใจฝ่าฝืนคำสั่ง นายจ้างจึงไม่มีสิทธิเลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างได้) ส่วนอำนาจในการให้ความดีความชอบ (PROMOTION AND REWARD) เช่นการเลื่อนขั้นเงินเดือน หรือการให้เงินโบนัสหรือรางวัลในการทำงาน เป็นต้น ล้วนแต่เป็นอำนาจเฉพาะของนายจ้างทั้งสิ้น ลูกจ้างจะก้าวล่วงในอำนาจดังกล่าวไม่ได้(คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 723/2528, 3823/2531) การสั่งที่อยู่นอกเหนือจากขอบเขตของงานหรือข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างถือว่าเป็นการไม่ชอบ หากลูกจ้างไม่ปฏิบัติตามจะถือว่าจงใจขัดคำสั่งนายจ้างไม่ได้ เช่นการสั่งให้ลูกจ้างไปรับใช้นายจ้างส่วนตัวก็ดี (ฎีกาที่ 2695/2529) การให้ไปเบิกความเป็นพยานที่ศาลก็ดี (ฎีกาที่ 2828-2528/2525) การออกคำสั่งต่อลูกจ้างให้กระทำหรือไม่กระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งซึ่งเป็นสิทธิส่วนบุคคลของลูกจ้างก็ดี (ฎีกาที่ 319/2531) ถือเป็นคำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายทั้งสิ้น ในการพิจารณาว่านายจ้างมีอำนาจบังคับบัญชาลูกจ้างหรือไม่ให้ดูว่านายจ้างมีข้อบังคับการทำงาน ระเบียบคำสั่ง กำหนดให้ลูกจ้างทำงานตามวัน เวลา ที่กำหนดหรือไม่ ถ้าไม่มาตามกำหนดวันเวลานั้น ต้องลากิจ ลาป่วยหรือลาลักษณะอื่นๆ หรือไม่ และหากลูกจ้างกระทำผิดระเบียบข้อบังคับการทำงานนายจ้างมีอำนาจลงโทษหรือไม่ ถ้าในระหว่างนายจ้างและลูกจ้างมีในสิ่งต่างๆ ที่กล่าวมาแล้วถือได้ว่านายจ้างมีอำนาจบังคับบัญชาเหนือลูกจ้างเป็นความสัมพันธ์ตามสัญญาจ้างแรงงานอย่างแน่นอน ในการเขียนข้อบังคับการทำงานที่ดีจะเป็นประโยชน์ต่อนายจ้างมากที่สุดก็คือ การเขียนให้นายจ้างมีอำนาจการจัดการหรืออำนาจปกครองบังคับบัญชาอย่างเต็มที่เพ่อประโยชน์แก่การบริหารเงินนั่นเอง

 

 

 

 

ติดตามตอนต่อไป.....................

แหล่งที่มา :  เรื่องโดย ....เกรียงไกร   เจียมบุญศรี

31/3/2549

 

 




ห้องรับแขก นักกฎหมายแรงงาน

ปัญหาการทำงานล่วงเวลาของพนักงานขับรถในธุรกิจการขนส่งทางบก article
ความไม่คืบหน้าของการจัดทำกฎหมายคุ้มครองผู้ทำงานบ้าน
ปรัชญาของกฎหมายคุ้มครองแรงงาน
ปกิณกะคดีว่าด้วย การแก้ไขปัญหาลูกจ้างรับเหมาค่าแรง ยิ่งแก้ก็ยิ่งยุ่งไปกันใหญ่ ตอนที่ 2 แนวทางการแก้ไขปัญหาของภาครัฐ
ปกิณกะคดีว่าด้วย การแก้ไขปัญหาลูกจ้างรับเหมาค่าแรง ยิ่งแก้ก็ยิ่งยุ่งไปกันใหญ่ ตอนที่ 1
สิทธิหน้าที่และความคุ้มครองตามกฎหมายสำหรับลูกจ้างทดลองงาน
สถานการณ์ผู้รับงานไปทำที่บ้าน article
สภาพการจ้างโดยปริยาย article
สภาพการจ้างโดยปริยาย article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 9 article
การจ้างแรงงานภายนอกการบินไทยเป็นการขาดธรรมมาภิบาลจริงหรือ? article
การจ้างแรงงานภายนอกการบินไทยเป็นการขาดธรรมมาภิบาลจริงหรือ? ตอนที่ 2 ความหมายของ นายจ้าง ตาม กฎหมายคุ้มครองแรงงาน article
การจ้างแรงงานภายนอกการบินไทยเป็นการขาดธรรมมาภิบาลจริงหรือ? article
ความสำคัญของกฎหมายแรงงานไทย article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 8 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 7 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 6 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ ....4 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 3 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 2 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่1... article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.