ReadyPlanet.com
dot dot
dot
dot
bulletขอเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างโดยไม่จ่าย ค่าชดเชย
bulletเลิกจ้างนอกข้อยกเว้น มาตรา 123
bulletลงชื่อสนับสนุนข้อเรียกร้อง
bulletข้อตกลงที่สิ้นผลผูกพัน
bulletห้ามทำสัญญาจ้างฯขัดข้อตกลงสภาพการจ้าง
dot
dot
bulletคำวินิจฉัยของศาลที่ไม่มีเหตุผลประกอบ
bulletการปฏิบัติตามคำพิพากษา
dot
dot
bulletสิทธิในการเรียกค่าขาดไร้อุปการะ
bullet“บุตร” หมายความว่าอย่างไร ?
bulletไม่ถือว่าได้รับความเดือดร้อน
dot
dot
bulletหนังสือเตือนไม่ใช่โทษ
bulletประมาทเลินเล่อ
bulletไม่ผิดยักยอกแต่เลิกจ้างเป็นธรรม
bulletปิดกิจการชั่วคราว
bulletความหมายของคำว่า “ผู้บังคับบัญชา”
bulletทำงานแต่ละทิ้งหน้าที่
bulletต้องเลือกใช้สิทธิ
bulletการระบุเหตุผลในหนังสือบอกเลิกจ้าง
bulletการใช้สิทธิร้องพนักงานตรวจแรงงานและคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พร้อมกัน
bulletการสละสิทธิไม่รับเงินประกัน
dot
dot
bulletฟ้องตัวแทนหางานในประเทศไทย
bulletฟ้องละเมิด
dot
dot
bulletจัดหางานไม่ได้รับอนุญาต
dot
dot
bulletประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจที่เป็นคุณต่อลูกจ้างแต่ออกภายหลังที่ลูกจ้างเกษียณอายุไปแล้ว
dot
dot
bulletศาลฎีกา
bulletศาลอุทธรณ์
bulletศาลแพ่ง
bulletศาลแพ่งกรุงเทพใต้
bulletศาลอาญา
bulletศาลแพ่งธนบุรี
bulletศาลแรงงานกลาง
bulletศาลล้มละลายกลาง
dot

dot
dot
dot
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
bulletกรมการจัดหางาน
bulletกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletสถาบันความปลอดภัยในการทำงาน
bulletศูนย์บริการข้อมูลและฝึกอบรมแรงงาน
bulletสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน
bulletสำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ
dot
dot
bulletบุษบาผู้น่าสงสาร
bulletขนมดังโกะ
bulletฤกษ์สึก
dot
dot
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำรายชั่วโมง
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ ซึ่งได้ประกาศให้มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550
bulletแนวทางในการส่งเสริมให้นักเรียน นิสิต และนักศึกษาเข้าทำงานในช่วงปิดภาคเรียนหรือภาคฤดูร้อน
bulletหลัก 7 ประการในการบริหารแรงงาน
bullet สาระสำคัญพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
bulletหญิงไทยกับกฎหมายแรงงานใหม่
bullet10 เคล็ดลับ เพื่อผูกใจพนักงานไว้กับองค์กร
bulletร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.........
bulletร่างพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ ฉบับคณะกรรมการกฤษฎีกา
bulletร่างพระราชบัญญัติค่าจ้างและรายได้
dot
dot
bulletโครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
bulletไทยเซฟตี้ดอทเน็ต
bulletสภาทนายความ
bulletทนายป๊อดดอทคอม
bulletสำนักกฎหมายทัศน์พงษ์ สกุลคู
bulletไทยจัสติสดอทคอม
bulletอาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
bulletThaiJobCenter.com
dot
dot
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนเมษายน 2550
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนพฤษภาคม 2550
dot
dot
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 3 หลักการพัฒนาตนเองให้เป็นพหูสูต
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 2 เทคนิคการปกครองคน 3 รูปแบบ
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 1
bulletเคล็ดลับ 12 ประการในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ( 12 Tips for Building Good Human Relations)
bulletผู้นำที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ ตอนที่...2
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ
bulletเรื่องของ ค คน โดยจามจุรีสีชมพู
bulletสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง


ประชาสัมพันธ์ Add Url ฟรี!


ความสำคัญของกฎหมายแรงงานไทย article

ความสำคัญของกฎหมายแรงงานไทย

 

            กฎหมายแรงงาน เป็นกฎหมายที่รัฐ บัญญัติออกมาเพื่อให้สอดคล้องและเกิดความเป็นธรรมต่อ นายจ้างและลูกจ้าง โดยอยู่ภายใต้มาตรฐานเดียวกันและเขตพื้นที่ใกล้เคียงกัน

            อำนาจภายในองค์กร ถูกกำหนด 2 แบบ คือ

  1. อำนาจทางนิติบัญญัติ เท่านั้นที่นายจ้างต้องปฏิบัติตามที่กฎหมายกำหนด
  2. อำนาจในทางการบริหาร เป็นอำนาจภายในองค์กร

กฎหมาย ดังกล่าวจึงไม่อาจก้าวล่วง หรืออีกชื่อหนึ่งเรียกว่า อำนาจในการจัดการ คือ อำนาจในการบริหารภายในที่ผู้บริหารกระทำได้โดยไม่ผิดกฎหมาย เช่น การรับสมัคร การจ้างงาน การมอบหมายงาน  การโยกย้ายงาน เป็นต้น

            ข้อควรรู้สำหรับเจ้าของกิจการองค์กรขนาดเล็ก ผู้บริหาร ผู้จัดการ ผู้สนใจฯ พื้นฐานของเจตนารมณ์ของกฎหมาย บัญญัติไว้ ในกรณีใด และไม่ได้บัญญัติไว้ในกรณีใด คือ ช่องโหว่ของกฎหมาย

            ปัญหาของ กฎหมายแรงงาน ระหว่างนายจ้าง กับ พนักงาน (ลูกจ้าง)

เป็นปัญหาที่มีความละเอียดอ่อน ที่ผู้บริหารจำต้องนำหลักเศรษฐศาสตร์ การปกครอง การประนีประนอม การเจรจาเข้ามาช่วยประสาน ในระบบการบริหารการจัดการภายในองค์กร ให้เกิดความนิ่มนวล และส่งผลต่อระบบการบริหารงานบุคคลที่เหมาะสม และเป็นแบบอย่างที่ดี และมีบทลงโทษผู้กระทำความผิด นอกกรอบ

          การศึกษาความสำคัญของกฎหมายแรงงานไทย ที่ใช้ในปัจจุบัน

มาจากพื้นฐาน มาตรฐานแรงงานสากลโลก กำหนดทั้ง มาตรการควบคุมและสวัสดิการ ความปลอดภัยในการทำงาน ตั้งแต่วันแรกที่เข้าทำงาน จนถึงการเลิกจ้าง ในกรณีไม่ถูกต้องตามกฎหมาย และไม่เป็นธรรม

            โดยเจตนาผู้เขียน มีความประสงค์ เขียนบทความในเชิงภาคปฏิบัติ นำไปปฏิบัติในองค์กร อย่างถูกต้องตามขั้นตอนของกฎหมาย ในแต่ละตอนโดยนำหลักวิชาการ ทฤษฎี หลักกฎหมาย แนวคำพิพากษาที่เป็นบรรทัดฐาน กำหนดไว้ชัดเจน นำมาจำแนกและชี้ข้อสังเกตให้เห็นชัด สิทธิและหน้าที่ ของ นายจ้าง และ พนักงาน ตามที่กฎหมายแรงงานกำหนด อันเป็นองค์ความรู้ ของสาขากฎหมายแรงงาน ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างสูงสุด ในภาคปฏิบัติ ให้เกิดเป็นมาตรฐานในองค์กร และการวางแผน การป้องกันปัญหาต่างๆ ที่อาจจะเกิดในอนาคต ซึ่งผู้เขียนจะอธิบายเป็นตอนๆ น่าจะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่เกี่ยวข้องด้านแรงงานทุกคน เพื่อเป็นวิทยาทาน

 

บทความดังกล่าว เป็นความเห็นเชิงส่วนตัว และถูกคุ้มครองตามกฎหมายลิขสิทธิ์

 

โดย : นายเชิดพงศ์  ดิลกแพทย์ นบ, นบท, ศศม.(สาขาการจัดการแรงงานและสวัสดิการสังคม)

อาชีพ ทนายความ โทร 01-252-6759

 

20/4/2549

 




ห้องรับแขก นักกฎหมายแรงงาน

ปัญหาการทำงานล่วงเวลาของพนักงานขับรถในธุรกิจการขนส่งทางบก article
ความไม่คืบหน้าของการจัดทำกฎหมายคุ้มครองผู้ทำงานบ้าน
ปรัชญาของกฎหมายคุ้มครองแรงงาน
ปกิณกะคดีว่าด้วย การแก้ไขปัญหาลูกจ้างรับเหมาค่าแรง ยิ่งแก้ก็ยิ่งยุ่งไปกันใหญ่ ตอนที่ 2 แนวทางการแก้ไขปัญหาของภาครัฐ
ปกิณกะคดีว่าด้วย การแก้ไขปัญหาลูกจ้างรับเหมาค่าแรง ยิ่งแก้ก็ยิ่งยุ่งไปกันใหญ่ ตอนที่ 1
สิทธิหน้าที่และความคุ้มครองตามกฎหมายสำหรับลูกจ้างทดลองงาน
สถานการณ์ผู้รับงานไปทำที่บ้าน article
สภาพการจ้างโดยปริยาย article
สภาพการจ้างโดยปริยาย article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 9 article
การจ้างแรงงานภายนอกการบินไทยเป็นการขาดธรรมมาภิบาลจริงหรือ? article
การจ้างแรงงานภายนอกการบินไทยเป็นการขาดธรรมมาภิบาลจริงหรือ? ตอนที่ 2 ความหมายของ นายจ้าง ตาม กฎหมายคุ้มครองแรงงาน article
การจ้างแรงงานภายนอกการบินไทยเป็นการขาดธรรมมาภิบาลจริงหรือ? article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 8 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 7 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 6 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ ...5 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ ....4 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 3 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 2 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่1... article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.