ReadyPlanet.com
dot dot
dot
dot
bulletขอเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างโดยไม่จ่าย ค่าชดเชย
bulletเลิกจ้างนอกข้อยกเว้น มาตรา 123
bulletลงชื่อสนับสนุนข้อเรียกร้อง
bulletข้อตกลงที่สิ้นผลผูกพัน
bulletห้ามทำสัญญาจ้างฯขัดข้อตกลงสภาพการจ้าง
dot
dot
bulletคำวินิจฉัยของศาลที่ไม่มีเหตุผลประกอบ
bulletการปฏิบัติตามคำพิพากษา
dot
dot
bulletสิทธิในการเรียกค่าขาดไร้อุปการะ
bullet“บุตร” หมายความว่าอย่างไร ?
bulletไม่ถือว่าได้รับความเดือดร้อน
dot
dot
bulletหนังสือเตือนไม่ใช่โทษ
bulletประมาทเลินเล่อ
bulletไม่ผิดยักยอกแต่เลิกจ้างเป็นธรรม
bulletปิดกิจการชั่วคราว
bulletความหมายของคำว่า “ผู้บังคับบัญชา”
bulletทำงานแต่ละทิ้งหน้าที่
bulletต้องเลือกใช้สิทธิ
bulletการระบุเหตุผลในหนังสือบอกเลิกจ้าง
bulletการใช้สิทธิร้องพนักงานตรวจแรงงานและคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พร้อมกัน
bulletการสละสิทธิไม่รับเงินประกัน
dot
dot
bulletฟ้องตัวแทนหางานในประเทศไทย
bulletฟ้องละเมิด
dot
dot
bulletจัดหางานไม่ได้รับอนุญาต
dot
dot
bulletประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจที่เป็นคุณต่อลูกจ้างแต่ออกภายหลังที่ลูกจ้างเกษียณอายุไปแล้ว
dot
dot
bulletศาลฎีกา
bulletศาลอุทธรณ์
bulletศาลแพ่ง
bulletศาลแพ่งกรุงเทพใต้
bulletศาลอาญา
bulletศาลแพ่งธนบุรี
bulletศาลแรงงานกลาง
bulletศาลล้มละลายกลาง
dot

dot
dot
dot
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
bulletกรมการจัดหางาน
bulletกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletสถาบันความปลอดภัยในการทำงาน
bulletศูนย์บริการข้อมูลและฝึกอบรมแรงงาน
bulletสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน
bulletสำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ
dot
dot
bulletบุษบาผู้น่าสงสาร
bulletขนมดังโกะ
bulletฤกษ์สึก
dot
dot
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำรายชั่วโมง
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ ซึ่งได้ประกาศให้มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550
bulletแนวทางในการส่งเสริมให้นักเรียน นิสิต และนักศึกษาเข้าทำงานในช่วงปิดภาคเรียนหรือภาคฤดูร้อน
bulletหลัก 7 ประการในการบริหารแรงงาน
bullet สาระสำคัญพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
bulletหญิงไทยกับกฎหมายแรงงานใหม่
bullet10 เคล็ดลับ เพื่อผูกใจพนักงานไว้กับองค์กร
bulletร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.........
bulletร่างพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ ฉบับคณะกรรมการกฤษฎีกา
bulletร่างพระราชบัญญัติค่าจ้างและรายได้
dot
dot
bulletโครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
bulletไทยเซฟตี้ดอทเน็ต
bulletสภาทนายความ
bulletทนายป๊อดดอทคอม
bulletสำนักกฎหมายทัศน์พงษ์ สกุลคู
bulletไทยจัสติสดอทคอม
bulletอาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
bulletThaiJobCenter.com
dot
dot
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนเมษายน 2550
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนพฤษภาคม 2550
dot
dot
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 3 หลักการพัฒนาตนเองให้เป็นพหูสูต
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 2 เทคนิคการปกครองคน 3 รูปแบบ
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 1
bulletเคล็ดลับ 12 ประการในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ( 12 Tips for Building Good Human Relations)
bulletผู้นำที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ ตอนที่...2
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ
bulletเรื่องของ ค คน โดยจามจุรีสีชมพู
bulletสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง


ประชาสัมพันธ์ Add Url ฟรี!


หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 6 article

หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง 

ตอนที่ 6.........

7.คำนึงถึงผลเสียของนายจ้างในระยะยาวเสมอ

            บางสถานประกอบการกำหนดข้อบังคับการทำงานในส่วนที่เกี่ยวกับการเข้า-ออกงานของลูกจ้างไว้ดังนี้ “ข้อ 16 พนักงานจะต้องเข้างานไม่เกินเวลา 08.00 น. และออกจากงานเวลา 17.00 น. การเข้างานสายแต่ไม่เกิน 08.15 น. อนุโลมให้โดยไม่ถือว่ามาสาย และไม่ถูกตัดค่าจ้างตามเวลาที่มาสาย การเข้างานหลังจาก 08.15 แต่ไม่เกิน 08.45 น.ให้หักค่าจ้างตามเวลาที่มาสายการมาทำงานสายหลังจาก 08.30 น.ให้ถือว่าขาดงานครึ่งวันและต้องถูกตัดค่าจ้างครึ่งวันทำงาน” การเขียนข้อบังคับการทำงานเช่นนี้มีผลดังต่อไปนี้ สำหรับประโยคที่ว่า “การเข้างานสายแต่ไม่เกิน 08.15 น. อนุโลมให้โดยไม่ถือว่ามาสาย” หมายความว่า หากเข้างานไม่เกิน 08.15 น. ไม่มีความผิดหรือโทษใดๆ ตามข้อบังคับการทำงาน จึงไม่แตกต่างอะไรกับการมีเนื้อหาของระเบียบว่า บริษัทนี้มีเวลาเข้างาน 08.15 น. ดังนั้น เวลาเข้างานที่กำหนดไว้ 08.00 น. จึงไม่มีความหมายใดในภาคปฏิบัติ และในความเป็นจริงเมื่อย้อนไปดูข้อมูลเก่าๆ ของฝ่ายบุคคลเกี่ยวกับการเข้า – ออกงานของพนักงานย้อนหลังไป 2 ปีเฉลี่ยแล้ว ปรากฏว่า จำนวน16% เข้างานระหว่าง 07.00 น. ไม่เกิน 08.00 น. จำนวน 80% เข้างานระหว่าง 08.00 – 08.15 น. ส่วนที่มาหลังจาก 08.15 น. มีประมาณ 3 – 4% ฝ่ายจัดการจึงกำหนดข้อบังคับการทำงานใหม่ว่า “พนักงานจะต้องเข้างานไม่เกินเวลา 08.00 น. และออกจากงานเวลา 17.00 น.” ไม่มีการอนุโลมอีกต่อไป ปรากฏว่า หลังจากนั้น 6 เดือนมาดูข้อมูลใหม่กลายเป็นว่า จำนวน 85% เข้างานระหว่าง 07.00 – 08.00 น. เลยทีเดียวสำหรับประโยคที่ว่า “การมาทำงานสายหลังจาก 08.30 น. ให้ถือว่าขาดงานครึ่งวันและต้องถูกตัดค่าจ้างครึ่งวัน” เกิดผลในความเป็นจริงว่า มีพนักงานจำนวนหนึ่ง (ที่ค่อนข้างจะหัวหมอ) มักเห็นโอกาสว่า ในเมื่อเช้าวันนี้ตนมีความขัดข้องไม่ว่ามาจากสาเหตุการจราจร หรือฝนฟ้าตก หรือเพราะเป็นนิสัยถาวร (สันดาน) อาจจะมาสายเกินกว่า 08.30 น. ก็เลยถือโอกาสลาป่วย 1 วันเสียเลย ซึ่งบริษัทนายจ้างก็จะขาดแรงงานไป 1 วันเต็ม ฝ่ายจัดการจึงแก้ไขข้อบังคับการทำงานในส่วนนี้เป็นว่า “การเข้างานหลัง 08.00 น. ถือว่ามาสาย และต้องถูกตัดค่าจ้างตามจำนวนเวลาที่มาสาย” หลังจากนั้นไม่นานนักสถิติของลูกจ้างที่ขอลาป่วย 1 วันในรอบเดือนเมื่อเทียบกับเดือนก่อนในปีเดียวกัน และเทียบกับเดือนเดียวกันในปีก่อนก็ลดอย่างเห็นได้ชัด สรุปแล้วข้อบังคับการทำงานเกี่ยวกับการเข้า-ออกงานของบริษัทก็เปลี่ยนแปลงแก้ไขเป็นว่า “พนักงานจะต้องเข้างานไม่เกินเวลา 08.00 น. และออกจากงานเวลา 17.00 น. การเข้างานหลัง 08.00 น. ถือว่ามาสายและต้องถูกตัดค่าจ้างตามจำนวนเวลาที่มาสาย” ซึ่งสั้น กระชับ ชัดเจนดี เป็นคุณแก่ลูกจ้างมากกว่าเดิม ทั้งช่วยให้พนักงานมาทำงานเร็วขึ้นเป็นจำนวนมาก และช่วยลดอัตราการลาป่วย (อย่างเป็นเท็จ) อีกด้วย

 

 

 

เรื่องโดย : เกรียงไกร  เจียมบุญศรี

 

25/4/2549




ห้องรับแขก นักกฎหมายแรงงาน

ปัญหาการทำงานล่วงเวลาของพนักงานขับรถในธุรกิจการขนส่งทางบก article
ความไม่คืบหน้าของการจัดทำกฎหมายคุ้มครองผู้ทำงานบ้าน
ปรัชญาของกฎหมายคุ้มครองแรงงาน
ปกิณกะคดีว่าด้วย การแก้ไขปัญหาลูกจ้างรับเหมาค่าแรง ยิ่งแก้ก็ยิ่งยุ่งไปกันใหญ่ ตอนที่ 2 แนวทางการแก้ไขปัญหาของภาครัฐ
ปกิณกะคดีว่าด้วย การแก้ไขปัญหาลูกจ้างรับเหมาค่าแรง ยิ่งแก้ก็ยิ่งยุ่งไปกันใหญ่ ตอนที่ 1
สิทธิหน้าที่และความคุ้มครองตามกฎหมายสำหรับลูกจ้างทดลองงาน
สถานการณ์ผู้รับงานไปทำที่บ้าน article
สภาพการจ้างโดยปริยาย article
สภาพการจ้างโดยปริยาย article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 9 article
การจ้างแรงงานภายนอกการบินไทยเป็นการขาดธรรมมาภิบาลจริงหรือ? article
การจ้างแรงงานภายนอกการบินไทยเป็นการขาดธรรมมาภิบาลจริงหรือ? ตอนที่ 2 ความหมายของ นายจ้าง ตาม กฎหมายคุ้มครองแรงงาน article
การจ้างแรงงานภายนอกการบินไทยเป็นการขาดธรรมมาภิบาลจริงหรือ? article
ความสำคัญของกฎหมายแรงงานไทย article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 8 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 7 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ ...5 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ ....4 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 3 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 2 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่1... article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.