ReadyPlanet.com
dot dot
dot
dot
bulletขอเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างโดยไม่จ่าย ค่าชดเชย
bulletเลิกจ้างนอกข้อยกเว้น มาตรา 123
bulletลงชื่อสนับสนุนข้อเรียกร้อง
bulletข้อตกลงที่สิ้นผลผูกพัน
bulletห้ามทำสัญญาจ้างฯขัดข้อตกลงสภาพการจ้าง
dot
dot
bulletคำวินิจฉัยของศาลที่ไม่มีเหตุผลประกอบ
bulletการปฏิบัติตามคำพิพากษา
dot
dot
bulletสิทธิในการเรียกค่าขาดไร้อุปการะ
bullet“บุตร” หมายความว่าอย่างไร ?
bulletไม่ถือว่าได้รับความเดือดร้อน
dot
dot
bulletหนังสือเตือนไม่ใช่โทษ
bulletประมาทเลินเล่อ
bulletไม่ผิดยักยอกแต่เลิกจ้างเป็นธรรม
bulletปิดกิจการชั่วคราว
bulletความหมายของคำว่า “ผู้บังคับบัญชา”
bulletทำงานแต่ละทิ้งหน้าที่
bulletต้องเลือกใช้สิทธิ
bulletการระบุเหตุผลในหนังสือบอกเลิกจ้าง
bulletการใช้สิทธิร้องพนักงานตรวจแรงงานและคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พร้อมกัน
bulletการสละสิทธิไม่รับเงินประกัน
dot
dot
bulletฟ้องตัวแทนหางานในประเทศไทย
bulletฟ้องละเมิด
dot
dot
bulletจัดหางานไม่ได้รับอนุญาต
dot
dot
bulletประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจที่เป็นคุณต่อลูกจ้างแต่ออกภายหลังที่ลูกจ้างเกษียณอายุไปแล้ว
dot
dot
bulletศาลฎีกา
bulletศาลอุทธรณ์
bulletศาลแพ่ง
bulletศาลแพ่งกรุงเทพใต้
bulletศาลอาญา
bulletศาลแพ่งธนบุรี
bulletศาลแรงงานกลาง
bulletศาลล้มละลายกลาง
dot

dot
dot
dot
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
bulletกรมการจัดหางาน
bulletกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletสถาบันความปลอดภัยในการทำงาน
bulletศูนย์บริการข้อมูลและฝึกอบรมแรงงาน
bulletสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน
bulletสำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ
dot
dot
bulletบุษบาผู้น่าสงสาร
bulletขนมดังโกะ
bulletฤกษ์สึก
dot
dot
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำรายชั่วโมง
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ ซึ่งได้ประกาศให้มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550
bulletแนวทางในการส่งเสริมให้นักเรียน นิสิต และนักศึกษาเข้าทำงานในช่วงปิดภาคเรียนหรือภาคฤดูร้อน
bulletหลัก 7 ประการในการบริหารแรงงาน
bullet สาระสำคัญพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
bulletหญิงไทยกับกฎหมายแรงงานใหม่
bullet10 เคล็ดลับ เพื่อผูกใจพนักงานไว้กับองค์กร
bulletร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.........
bulletร่างพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ ฉบับคณะกรรมการกฤษฎีกา
bulletร่างพระราชบัญญัติค่าจ้างและรายได้
dot
dot
bulletโครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
bulletไทยเซฟตี้ดอทเน็ต
bulletสภาทนายความ
bulletทนายป๊อดดอทคอม
bulletสำนักกฎหมายทัศน์พงษ์ สกุลคู
bulletไทยจัสติสดอทคอม
bulletอาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
bulletThaiJobCenter.com
dot
dot
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนเมษายน 2550
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนพฤษภาคม 2550
dot
dot
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 3 หลักการพัฒนาตนเองให้เป็นพหูสูต
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 2 เทคนิคการปกครองคน 3 รูปแบบ
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 1
bulletเคล็ดลับ 12 ประการในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ( 12 Tips for Building Good Human Relations)
bulletผู้นำที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ ตอนที่...2
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ
bulletเรื่องของ ค คน โดยจามจุรีสีชมพู
bulletสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง


ประชาสัมพันธ์ Add Url ฟรี!


การฟ้องเพิกถอนคำวินิจฉัยที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นที่สุด article
กรณีใดบ้างที่กฎหมายบัญญัติให้คำวินิจฉัยเป็นที่สุด ?

 

            ข้อพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไม่ได้ในกิจการตามที่กฎหมายกำหนด เช่น การรถไฟ การท่าเรื่อ โรงพยาบาล งานขนส่ง เป็นต้น ในพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 มาตรา 23 บัญญัติให้พนักงานประนอมข้อพิพาทต้องส่งเรื่องให้คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พิจารณาวินิจฉัย หากคู่กรณีไม่พอใจคำวินิจฉัยต้องอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน คำวินิจฉัยอุทธรณ์ของรัฐมนตรีให้เป็นที่สุด ทั้งฝ่ายแจ้งข้อเรียกร้องและฝ่ายรับข้อเรียกร้องต้องปฏิบัติตาม ในมาตรา 24 ก็บัญญัติไว้ว่า เมื่อมีข้อพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไม่ได้ในกิจการอื่นนอกจากกิจการตามมาตรา 23 รัฐมนตรีมีอำนาจสั่งให้คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์วินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานนั้นได้ คำชี้ขาดของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ให้เป็นที่สุด ทั้งลูกจ้างนายจ้างต้องปฏิบัติตาม ในมาตรา 25 ก็บัญญัติไว้ว่า ในกรณีที่มีการประกาศใช้กฎอัยการศึก หรือประกาศภาวะฉุกเฉิน รัฐมนตรีมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดให้ข้อพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไม่ได้ตามมาตรา 22 วรรคสาม ได้รับการชี้ขาดจากคณะบุคคลที่รัฐมนตรีแต่งตั้งได้ คำชี้ขาดของคณะบุคคลนั้นให้เป็นที่สุด คู่กรณีต้องปฏิบัติตามอีกเช่นกัน

              

            ต้องการฟ้องเพิกถอนคำวินิจฉัยที่เป็นที่สุดต่อศาลแรงงานทำได้หรือไม่ ?

           

            คำวินิจฉัยที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นที่สุดนั้น มีความหมายว่า เป็นที่สุดในการใช้อำนาจบริหาร คู่กรณีไม่สามารถอุทธรณ์ต่อผู้ใช้อำนาจบริหารในระดับที่สูงกว่าหรือในระดับใดก็ตามเพื่อให้มีคำสั่งลบล้างคำวินิจฉัยดังกล่าวได้อีกต่อไป ไม่ว่าผลของคำวินิจฉัยนั้นจะเป็นที่ไม่พอใจเพียงใดก็ตาม คู่กรณีต้องปฏิบัติตาม การจะฟ้องศาลเพิกถอนการใช้ดุลพินิจในทางบริหารที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นที่สุดเช่นนี้จะกระทำได้หรือไม่ มีหลักพิจารณา 2 ประการ คือ 1. เป็นการฟ้องเพิกถอนการใช้ดุลพินิจในปัญหาข้อเท็จจริงหรือไม่ หากใช่ ย่อมไม่สามารถฟ้องเพิกถอนได้ เช่น ฟ้องเพิกถอนคำวินิจฉัยของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ที่วินิจฉัยให้โจทก์จ่ายเงินโบนัสแก่ลูกจ้างสูงเกินไปไม่เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ  หรือรัฐมนตรีวินิจฉัยให้ปรับค่าจ้างประจำปีให้ลูกจ้างมากเกินไปในขณะที่โจทก์ประสบสภาวะทางการเงิน เช่นนี้ไม่อาจฟ้องเพิกถอนได้ เพราะเป็นการวินิจฉัยดุลพินิจในข้อเท็จจริงเป็นปัญหาข้อเท็จจริงต้องถึงที่สุดตามที่กฎหมายบัญญัติไว้  2. เป็นการฟ้องเพิกถอนการใช้ดุลพินิจในปัญหาข้อกฎหมายหรือไม่ หากใช่ ย่อมฟ้องเพิกถอนได้ เช่น ฟ้องเพิกถอนคำสั่งรัฐมนตรีที่สั่งให้คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ดำเนินการวินิจฉัยข้อเรียกร้องของลูกจ้างต่อไป ทั้งที่ข้อเรียกร้องดังกล่าวมีลูกจ้างถอนชื่อจนเหลือไม่ครบร้อยละ 15 ของลูกจ้างทั้งหมดแล้ว เช่นนี้ฟ้องเพิกถอนได้ เพราะการใช้ดุลพินิจในข้อกฎหมายเป็นปัญหาข้อกฎหมาย ปัญหาข้อกฎหมายย่อมไม่ถึงที่สุดโดยอำนาจบริหารตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ แต่จะถึงที่สุดโดยอำนาจตุลาการ

            ความยากของการฟ้องเพิกถอนคำวินิจฉัยที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นที่สุด คือ ต้องวิเคราะห์คดีให้แตกเสียก่อนว่า คำวินิจฉัยที่จะฟ้องนั้นมีข้อผิดพลาดในข้อกฎหมายหรือไม่ การจะรู้ว่า มีข้อผิดพลาดในข้อกฎหมายหรือไม่ก็ต้องแยกให้ออกเสียก่อนว่า ปัญหาข้อเท็จจริง คือ อะไร และปัญหาข้อกฎหมาย คือ อะไร ?

                                     ...............................................................

 

26/4/2549




กฎหมายวิธีพิจารณาคดีแรงงาน

การบรรยายฟ้อง ละเมิด กับ ผิดสัญญาจ้าง article
เหตุตามหนังสือเลิกจ้าง กับ การพิจารณาคดี article
บอกกล่าวล่วงหน้า กับ เลิกจ้างไม่เป็นธรรม article
เกษียณอายุ กับ การเลิกจ้างไม่เป็นธรรม article
การรับข้อเท็จจริงในศาลแรงงาน article
การแก้ฟ้องในคดีแรงงาน article
เหตุเลิกจ้างที่ไม่ปรากฏในหนังสือเลิกจ้าง กับ การพิจารณาของ ครส. และศาล article
ข้อกฎหมายที่ไม่เป็นสาระแก่การพิจารณาของศาลฎีกา article
การถอนฟ้อง กับ คดีแรงงาน
เมื่อพนักงานตรวจแรงงานลืมสั่งจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า ทำอย่างไรดี ?
เลิกจ้างเพราะละทิ้งหน้าที่ 3 วัน กับ ละทิ้งหน้าที่ 3 เดือน เลือกอะไรดี ?
การฟ้องผู้รับเหมาชั้นต้นให้รับผิดตามคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน
พนักงานตรวจแรงงานฟ้องแย้งเรียกให้นายจ้างซึ่งเป็นโจทก์จ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าที่ตนมิได้สั่งได้หรือไม่ ?
เหตุผลในการบอกเลิกจ้าง กับ สิทธิในการยกขึ้นอ้างในศาล
สิทธิในดอกเบี้ยในค่าเสียหายตามคำสั่งคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ กับ การไม่ใช้สิทธิฟ้องแย้งเรียกดอกเบี้ยของลูกจ้าง article
ปัญหาการชำระดอกเบี้ยในค่าเสียหายตามคำสั่งคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ article
การชำระเงินเพิ่ม กับ การเรียกคืนเงินเพิ่ม article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.