ReadyPlanet.com
dot dot
dot
dot
bulletขอเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างโดยไม่จ่าย ค่าชดเชย
bulletเลิกจ้างนอกข้อยกเว้น มาตรา 123
bulletลงชื่อสนับสนุนข้อเรียกร้อง
bulletข้อตกลงที่สิ้นผลผูกพัน
bulletห้ามทำสัญญาจ้างฯขัดข้อตกลงสภาพการจ้าง
dot
dot
bulletคำวินิจฉัยของศาลที่ไม่มีเหตุผลประกอบ
bulletการปฏิบัติตามคำพิพากษา
dot
dot
bulletสิทธิในการเรียกค่าขาดไร้อุปการะ
bullet“บุตร” หมายความว่าอย่างไร ?
bulletไม่ถือว่าได้รับความเดือดร้อน
dot
dot
bulletหนังสือเตือนไม่ใช่โทษ
bulletประมาทเลินเล่อ
bulletไม่ผิดยักยอกแต่เลิกจ้างเป็นธรรม
bulletปิดกิจการชั่วคราว
bulletความหมายของคำว่า “ผู้บังคับบัญชา”
bulletทำงานแต่ละทิ้งหน้าที่
bulletต้องเลือกใช้สิทธิ
bulletการระบุเหตุผลในหนังสือบอกเลิกจ้าง
bulletการใช้สิทธิร้องพนักงานตรวจแรงงานและคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พร้อมกัน
bulletการสละสิทธิไม่รับเงินประกัน
dot
dot
bulletฟ้องตัวแทนหางานในประเทศไทย
bulletฟ้องละเมิด
dot
dot
bulletจัดหางานไม่ได้รับอนุญาต
dot
dot
bulletประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจที่เป็นคุณต่อลูกจ้างแต่ออกภายหลังที่ลูกจ้างเกษียณอายุไปแล้ว
dot
dot
bulletศาลฎีกา
bulletศาลอุทธรณ์
bulletศาลแพ่ง
bulletศาลแพ่งกรุงเทพใต้
bulletศาลอาญา
bulletศาลแพ่งธนบุรี
bulletศาลแรงงานกลาง
bulletศาลล้มละลายกลาง
dot

dot
dot
dot
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
bulletกรมการจัดหางาน
bulletกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletสถาบันความปลอดภัยในการทำงาน
bulletศูนย์บริการข้อมูลและฝึกอบรมแรงงาน
bulletสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน
bulletสำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ
dot
dot
bulletบุษบาผู้น่าสงสาร
bulletขนมดังโกะ
bulletฤกษ์สึก
dot
dot
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำรายชั่วโมง
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ ซึ่งได้ประกาศให้มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550
bulletแนวทางในการส่งเสริมให้นักเรียน นิสิต และนักศึกษาเข้าทำงานในช่วงปิดภาคเรียนหรือภาคฤดูร้อน
bulletหลัก 7 ประการในการบริหารแรงงาน
bullet สาระสำคัญพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
bulletหญิงไทยกับกฎหมายแรงงานใหม่
bullet10 เคล็ดลับ เพื่อผูกใจพนักงานไว้กับองค์กร
bulletร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.........
bulletร่างพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ ฉบับคณะกรรมการกฤษฎีกา
bulletร่างพระราชบัญญัติค่าจ้างและรายได้
dot
dot
bulletโครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
bulletไทยเซฟตี้ดอทเน็ต
bulletสภาทนายความ
bulletทนายป๊อดดอทคอม
bulletสำนักกฎหมายทัศน์พงษ์ สกุลคู
bulletไทยจัสติสดอทคอม
bulletอาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
bulletThaiJobCenter.com
dot
dot
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนเมษายน 2550
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนพฤษภาคม 2550
dot
dot
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 3 หลักการพัฒนาตนเองให้เป็นพหูสูต
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 2 เทคนิคการปกครองคน 3 รูปแบบ
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 1
bulletเคล็ดลับ 12 ประการในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ( 12 Tips for Building Good Human Relations)
bulletผู้นำที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ ตอนที่...2
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ
bulletเรื่องของ ค คน โดยจามจุรีสีชมพู
bulletสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง


ประชาสัมพันธ์ Add Url ฟรี!


หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 7 article

หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง 

ตอนที่ 7.........

 

8. มีรายการต่างๆ ไม่น้อยกว่าที่กฎหมายกำหนด

            ข้อบังคับนั้นอย่างน้อยต้องมีรายละเอียดเกี่ยวกับรายการดังต่อไปนี้

  1. วันทำงาน เวลาทำงานปกติ และเวลาพัก
  2. วันหยุด และหลักเกณฑ์การหยุด
  3. หลักเกณฑ์การทำงานล่วงเวลาและการทำงานในวันหยุด
  4. วันและสถานทีจ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุดและค่าล่วงเวลาในวันหยุด
  5. วันเวลาและหลักเกณฑ์การลา
  6. วินัยและโทษทางวินัย
  7. การร้องทุกข์
  8. การเลิกจ้าง ค่าชดเชย และค่าชดเชยพิเศษ

ดังนั้นในการเขียนข้อบังคับการทำงานของนายจ้างต้องมีเนื้อหาต่างๆ ไม่น้อยกว่าที่กฎหมายได้กำหนดไว้ดังกล่าวข้างต้น จึงจะชอบด้วยกฎหมาย

  1. การใช้ภาษาให้ยึดถือถ้อยคำตมตัวบทกฎหมาย

เพื่อป้องกันการสับสนว่าสิ่งที่เรากำลังพูดหรือกล่าวถึงในข้อบังคับการทำงานว่าเป็นสิ่งเดียวกับที่กฎหมายกล่าวถึงหรือไม่ ดังนั้นในเรื่องหรือสิ่งเดี่ยวกันเมื่อเขียนลงในข้อบังคับการทำงาน นาจ้างจึงควรใช้ถ้อยคำของกฎหมายเมื่อเขียนในข้อบังคับการทำงานนั้น เช่น บางสถานประกอบการใช้คำว่า ค่าทำงานเกินเวลาหรือใช้ทับศัพท์ว่า OVER TIME ซึ่งที่ถูกต้องแล้วควรใช้คำว่า “ค่าทำงานล่วงเวลา” บางสถานประกอบการใช้คำว่า “ลาพิเศษ” ซึ่งไม่ทราบจริงๆ แล้วคือลาประเภทใด แต่ครั้นอ่านในรายละเอียดก็รู้ว่าเป็นเรื่องของการลากิจตามมาตรา 34 ของกฎหมายคุ้มครอง บางสถานประกอบการใช้คำว่า “วันหยุดนักขัตฤกษ์” แต่ที่ถูกต้องแล้วตามกฎหมายใช้คำว่า “วันหยุดตามประเพณี” สถานประกอบการจำนวนไม่น้อยเขียนข้อบังคับการทำงานว่า “หากลูกจ้างขาดงานเป็นเวลาสามวันติดต่อกันไม่ว่าจะมีวันหยุดคั่นหรือไม่ก็ตาม และไม่มีเหตุอันสมควร ให้เลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชย” ซึ่งในเจตนารมณ์ของนายจ้างก็คือต้องการเขียนให้ล้อม มาตรา 119(5) แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 ความว่า “ละทิ้งหน้าที่ เป็นเวลาสามวันติดต่อกันไม่ว่าจะมีวันหยุดคั่นหรือไม่ก็ตามโดยไม่มีเหตุอันสมควร” นั่นเอง ดังนั้นนายจ้างจึงควรใช้คำว่า “ละทิ้งหน้าที่” แทนคำว่า “ขาดงาน” ซึ่งจะสอดคล้องกับตัวบทกฎหมายและกินความหมายลึกกว่าคำว่า ขาดงานมากมายนัก

  1. ใช้ถ้อยคำให้เป็นระเบียบภาษาเดียวกันทั้งหมด

คำที่มีความหมายอย่างเดียวกัน ควรใช้ถ้อยคำอย่างเดียวกันตลอดข้อบังคับการทำงาน นายจ้างบางสถานประกอบการที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับการเงินและการธนาคารใช้สรรพนามแทนตัวเองว่า “บริษัท” บ้าง “ธนาคาร"”บ้าง สับสนไปหมดในข้อบังคับการทำงานฉบับเดียวกัน ในกรณีนี้ควรใช้อย่างใดอย่างหนึ่งให้เป็นระเบียบภาษาเดียวกันซึ่งถ้าใช้คำว่า “ธนาคาร” น่าจะเหมาะสมที่สุด ระเบียบย่อยแม้ต่างฉบับกันแต่ถ้ากล่าวถึงเรื่องเดียวกัน ควรใช้คำหรือวลีเดียวกันเพื่อสื่อความหมายให้เข้าใจตรงกัน มีสถานประกอบการแห่งหนึ่งไปลอกข้อบังคับการทำงานบางส่วนมาจากพระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือนในส่วนที่เกี่ยวกับวินัยและการลงโทษ ระบุว่า “ ข้อ45 โทษทางวินัยดังนี้ ฯลฯ .....

5) ให้ออก

6) ปลดออก

7) ไล่ออก”

ให้ออก ปลดออก ไล่ออก สำหรับข้าราชการพลเรือนมีความหมายหนักเบาแตกต่างกันและยังผูกโยงกับบำเหน็จบำนาญที่ข้าราชการผู้ถูกดำเนินการทางวินัยจะพึงได้รับหรือไม่ ตมความหมายหนักเบาของความผิดที่กระทำลงไป (ปัจจุบันสำหรับราชการเหลือเพียง ให้ออก และไล่ออกเท่านั้น) แต่งานเอกชนไม่มีสิ่งดังกล่าว จึงไม่มีความแตกต่างกันระหว่างคำว่า “ให้ออก” “ปลดออก” และ “ไล่ออก” สามารถยุบลงเหลือเพียงคำว่า “เลิกจ้าง” ก็ได้ ส่วนจะเป็นการเลิกจ้างโดยจ่ายหรือไม่จ่ายค่าชดเชย เป็นอีกเรื่องหนึ่ง

 

 

เรื่องโดย : เกรียงไกร  เจียมบุญศรี

4/5/2549




ห้องรับแขก นักกฎหมายแรงงาน

ปัญหาการทำงานล่วงเวลาของพนักงานขับรถในธุรกิจการขนส่งทางบก article
ความไม่คืบหน้าของการจัดทำกฎหมายคุ้มครองผู้ทำงานบ้าน
ปรัชญาของกฎหมายคุ้มครองแรงงาน
ปกิณกะคดีว่าด้วย การแก้ไขปัญหาลูกจ้างรับเหมาค่าแรง ยิ่งแก้ก็ยิ่งยุ่งไปกันใหญ่ ตอนที่ 2 แนวทางการแก้ไขปัญหาของภาครัฐ
ปกิณกะคดีว่าด้วย การแก้ไขปัญหาลูกจ้างรับเหมาค่าแรง ยิ่งแก้ก็ยิ่งยุ่งไปกันใหญ่ ตอนที่ 1
สิทธิหน้าที่และความคุ้มครองตามกฎหมายสำหรับลูกจ้างทดลองงาน
สถานการณ์ผู้รับงานไปทำที่บ้าน article
สภาพการจ้างโดยปริยาย article
สภาพการจ้างโดยปริยาย article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 9 article
การจ้างแรงงานภายนอกการบินไทยเป็นการขาดธรรมมาภิบาลจริงหรือ? article
การจ้างแรงงานภายนอกการบินไทยเป็นการขาดธรรมมาภิบาลจริงหรือ? ตอนที่ 2 ความหมายของ นายจ้าง ตาม กฎหมายคุ้มครองแรงงาน article
การจ้างแรงงานภายนอกการบินไทยเป็นการขาดธรรมมาภิบาลจริงหรือ? article
ความสำคัญของกฎหมายแรงงานไทย article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 8 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 6 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ ...5 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ ....4 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 3 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่ 2 article
หลักในการเขียนข้อบังคับการทำงานสำหรับนายจ้าง ตอนที่1... article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.