ReadyPlanet.com
dot dot
dot
dot
bulletขอเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างโดยไม่จ่าย ค่าชดเชย
bulletเลิกจ้างนอกข้อยกเว้น มาตรา 123
bulletลงชื่อสนับสนุนข้อเรียกร้อง
bulletข้อตกลงที่สิ้นผลผูกพัน
bulletห้ามทำสัญญาจ้างฯขัดข้อตกลงสภาพการจ้าง
dot
dot
bulletคำวินิจฉัยของศาลที่ไม่มีเหตุผลประกอบ
bulletการปฏิบัติตามคำพิพากษา
dot
dot
bulletสิทธิในการเรียกค่าขาดไร้อุปการะ
bullet“บุตร” หมายความว่าอย่างไร ?
bulletไม่ถือว่าได้รับความเดือดร้อน
dot
dot
bulletหนังสือเตือนไม่ใช่โทษ
bulletประมาทเลินเล่อ
bulletไม่ผิดยักยอกแต่เลิกจ้างเป็นธรรม
bulletปิดกิจการชั่วคราว
bulletความหมายของคำว่า “ผู้บังคับบัญชา”
bulletทำงานแต่ละทิ้งหน้าที่
bulletต้องเลือกใช้สิทธิ
bulletการระบุเหตุผลในหนังสือบอกเลิกจ้าง
bulletการใช้สิทธิร้องพนักงานตรวจแรงงานและคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พร้อมกัน
bulletการสละสิทธิไม่รับเงินประกัน
dot
dot
bulletฟ้องตัวแทนหางานในประเทศไทย
bulletฟ้องละเมิด
dot
dot
bulletจัดหางานไม่ได้รับอนุญาต
dot
dot
bulletประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจที่เป็นคุณต่อลูกจ้างแต่ออกภายหลังที่ลูกจ้างเกษียณอายุไปแล้ว
dot
dot
bulletศาลฎีกา
bulletศาลอุทธรณ์
bulletศาลแพ่ง
bulletศาลแพ่งกรุงเทพใต้
bulletศาลอาญา
bulletศาลแพ่งธนบุรี
bulletศาลแรงงานกลาง
bulletศาลล้มละลายกลาง
dot

dot
dot
dot
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
bulletกรมการจัดหางาน
bulletกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletสถาบันความปลอดภัยในการทำงาน
bulletศูนย์บริการข้อมูลและฝึกอบรมแรงงาน
bulletสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน
bulletสำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ
dot
dot
bulletบุษบาผู้น่าสงสาร
bulletขนมดังโกะ
bulletฤกษ์สึก
dot
dot
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำรายชั่วโมง
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ ซึ่งได้ประกาศให้มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550
bulletแนวทางในการส่งเสริมให้นักเรียน นิสิต และนักศึกษาเข้าทำงานในช่วงปิดภาคเรียนหรือภาคฤดูร้อน
bulletหลัก 7 ประการในการบริหารแรงงาน
bullet สาระสำคัญพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
bulletหญิงไทยกับกฎหมายแรงงานใหม่
bullet10 เคล็ดลับ เพื่อผูกใจพนักงานไว้กับองค์กร
bulletร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.........
bulletร่างพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ ฉบับคณะกรรมการกฤษฎีกา
bulletร่างพระราชบัญญัติค่าจ้างและรายได้
dot
dot
bulletโครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
bulletไทยเซฟตี้ดอทเน็ต
bulletสภาทนายความ
bulletทนายป๊อดดอทคอม
bulletสำนักกฎหมายทัศน์พงษ์ สกุลคู
bulletไทยจัสติสดอทคอม
bulletอาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
bulletThaiJobCenter.com
dot
dot
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนเมษายน 2550
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนพฤษภาคม 2550
dot
dot
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 3 หลักการพัฒนาตนเองให้เป็นพหูสูต
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 2 เทคนิคการปกครองคน 3 รูปแบบ
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 1
bulletเคล็ดลับ 12 ประการในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ( 12 Tips for Building Good Human Relations)
bulletผู้นำที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ ตอนที่...2
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ
bulletเรื่องของ ค คน โดยจามจุรีสีชมพู
bulletสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง


ประชาสัมพันธ์ Add Url ฟรี!


รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article

รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน

ตอนที่ 1 การนัดหยุดงานระยะสั้น

            กฎหมายมิได้กำหนดรูปแบบของการนัดหยุดงานหรือปิดงานไว้ จึงต้องพิจารณาตามข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นเป็นกรณีๆ ไป ว่าการนัดหยุดงานแบบใดชอบด้วยกฎหมาย แบบใดไม่ชอบด้วยกฎหมาย แต่การนัดหยุดงานที่ชอบด้วยกฎหมายนั้นจะต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามขั้นตอนของกฎหมาย และไม่เป็นการกระทำที่มีความผิดตาม กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กฎหมายอาญา หรือกฎหมายอื่น

            รูปแบบการนัดหยุดงาน

            1. การนัดหยุดงานระยะสั้น กฎหมายมิได้กำหนดระยะเวลาในการนัดหยุดงานไว้ ดังนั้น ลูกจ้างหรือ สหภาพแรงงาน จะนัดหยุดงานเป็นเวลาเท่าใดก็ได้ เช่น 30 นาที 1 วัน หรือหลายวันก็ได้ หรือจะหยุด 1 วัน กลับมาทำงานต่อ 3 วัน และหยุดต่ออีก 1 วัน หรือหลายวันก็สามารถกระทำได้หากได้ปฏิบัติตามขั้นตอนที่ กฎหมาย กำหนดไว้ ซึ่งตาม พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 มาตรา 34 วรรคท้าย กำหนดให้แจ้งเป็นหนังสือให้พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงาน และอีกฝ่ายหนึ่งทราบล่วงหน้าเป็นเวลาอย่างน้อยยี่สิบสี่ชั่วโมงนับแต่เวลาที่รับแจ้ง (คำพิพากษาฎีกาที่ 2522/2525 และ 2522/2529)

            การนัดหยุดงานระยะสั้น ในลักษณะที่เป็นการกระทำซ้ำๆ กัน หรือสลับกันติดต่อกันไปตลอดวันทำงาน หรือตลอดเวลาที่ นัดหยุดงาน เช่นทำงาน 30 นาที หยุด 1 ชั่วโมง หรือทำและหยุดทุก 30 นาที หรือทำงาน 1 วัน หยุด 1 วัน สลับกันไปตลอดระยะเวลาที่นัดหยุดงาน เป็นต้น บางประเทศ เช่น ประเทศฝรั่เศส ถือว่าเป็น การนัดหยุดงาน ที่ชอบด้วยกฎหมาย เช่นกัน ถ้าการนัดหยุดงานแต่ละครั้งมีลักษณะที่ ชอบด้วยกฎหมาย ทั้งนี้เนื่องจากกฎหมายมิได้กำหนดรูปแบบการนัดหยุดงานที่ชอบด้วยกฎหมายไว้ จึงไม่อาจถือว่าการนัดหยุดงานเช่นนี้เป็นการฝ่าฝืนกฎหมาย หรือตามที่แจ้งการนัดหยุดงานไว้ย่อมเป็นการนัดหยุดงานที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายตาม พ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 เพราะลูกจ้างยังอยู่ในสถานที่ทำงาน และหากการกระทำดังกล่าวก่อให้เกิดความเสียหายแก่นายจ้างแล้ว ลูกจ้างย่อมไม่ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายแรงงานและอาจมีความผิดฐานละเมิดตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือตามกฎหมายอาญาอีกด้วย

 

 

ที่มา โดย: กิติพงศ์   หังสพฤกษ์,บทความรูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน,(วารสารศาลแรงงาน ปีที่ 11 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2538)น.35-43

 รวมคำพิพากษาฎีกา ตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 ทศวรรษที่ 2 (ปี พ.ศ. 2532-2542) น.160-162

 

5/5/2549




คำอธิบาย กฎหมายแรงงาน

ความแตกต่างระหว่างมาตรา 31 วรรคหนึ่งกับมาตรา 121 (1) article
การลาเพื่อกิจการสหภาพแรงงาน
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน ตอนที่ 3 การนัดหยุดงานรูปแบบสับเปลี่ยนหมุนเวียนและแบบสกัดกั้นสายการผลิต article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ความแตกต่างระหว่างข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่เกิดและไม่ได้เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้อง article
หน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง article
คำเตือน article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.