ReadyPlanet.com
dot dot
dot
dot
bulletขอเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างโดยไม่จ่าย ค่าชดเชย
bulletเลิกจ้างนอกข้อยกเว้น มาตรา 123
bulletลงชื่อสนับสนุนข้อเรียกร้อง
bulletข้อตกลงที่สิ้นผลผูกพัน
bulletห้ามทำสัญญาจ้างฯขัดข้อตกลงสภาพการจ้าง
dot
dot
bulletคำวินิจฉัยของศาลที่ไม่มีเหตุผลประกอบ
bulletการปฏิบัติตามคำพิพากษา
dot
dot
bulletสิทธิในการเรียกค่าขาดไร้อุปการะ
bullet“บุตร” หมายความว่าอย่างไร ?
bulletไม่ถือว่าได้รับความเดือดร้อน
dot
dot
bulletหนังสือเตือนไม่ใช่โทษ
bulletประมาทเลินเล่อ
bulletไม่ผิดยักยอกแต่เลิกจ้างเป็นธรรม
bulletปิดกิจการชั่วคราว
bulletความหมายของคำว่า “ผู้บังคับบัญชา”
bulletทำงานแต่ละทิ้งหน้าที่
bulletต้องเลือกใช้สิทธิ
bulletการระบุเหตุผลในหนังสือบอกเลิกจ้าง
bulletการใช้สิทธิร้องพนักงานตรวจแรงงานและคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พร้อมกัน
bulletการสละสิทธิไม่รับเงินประกัน
dot
dot
bulletฟ้องตัวแทนหางานในประเทศไทย
bulletฟ้องละเมิด
dot
dot
bulletจัดหางานไม่ได้รับอนุญาต
dot
dot
bulletประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจที่เป็นคุณต่อลูกจ้างแต่ออกภายหลังที่ลูกจ้างเกษียณอายุไปแล้ว
dot
dot
bulletศาลฎีกา
bulletศาลอุทธรณ์
bulletศาลแพ่ง
bulletศาลแพ่งกรุงเทพใต้
bulletศาลอาญา
bulletศาลแพ่งธนบุรี
bulletศาลแรงงานกลาง
bulletศาลล้มละลายกลาง
dot

dot
dot
dot
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
bulletกรมการจัดหางาน
bulletกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletสถาบันความปลอดภัยในการทำงาน
bulletศูนย์บริการข้อมูลและฝึกอบรมแรงงาน
bulletสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน
bulletสำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ
dot
dot
bulletบุษบาผู้น่าสงสาร
bulletขนมดังโกะ
bulletฤกษ์สึก
dot
dot
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำรายชั่วโมง
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ ซึ่งได้ประกาศให้มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550
bulletแนวทางในการส่งเสริมให้นักเรียน นิสิต และนักศึกษาเข้าทำงานในช่วงปิดภาคเรียนหรือภาคฤดูร้อน
bulletหลัก 7 ประการในการบริหารแรงงาน
bullet สาระสำคัญพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
bulletหญิงไทยกับกฎหมายแรงงานใหม่
bullet10 เคล็ดลับ เพื่อผูกใจพนักงานไว้กับองค์กร
bulletร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.........
bulletร่างพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ ฉบับคณะกรรมการกฤษฎีกา
bulletร่างพระราชบัญญัติค่าจ้างและรายได้
dot
dot
bulletโครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
bulletไทยเซฟตี้ดอทเน็ต
bulletสภาทนายความ
bulletทนายป๊อดดอทคอม
bulletสำนักกฎหมายทัศน์พงษ์ สกุลคู
bulletไทยจัสติสดอทคอม
bulletอาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
bulletThaiJobCenter.com
dot
dot
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนเมษายน 2550
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนพฤษภาคม 2550
dot
dot
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 3 หลักการพัฒนาตนเองให้เป็นพหูสูต
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 2 เทคนิคการปกครองคน 3 รูปแบบ
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 1
bulletเคล็ดลับ 12 ประการในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ( 12 Tips for Building Good Human Relations)
bulletผู้นำที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ ตอนที่...2
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ
bulletเรื่องของ ค คน โดยจามจุรีสีชมพู
bulletสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง


ประชาสัมพันธ์ Add Url ฟรี!


ฟ้องละเมิด

คำวินิจฉัยของอธิบดีผู้พิพากษาศาลแรงงานกลางที่ 38/2548

 

เรื่อง      ละเมิด

 

            โจทก์ฟ้องว่า จำเลยทั้งสามได้ร่วมกันกระทำละเมิดต่อโจทก์โดยประเมินผลปฏิบัติงานของโจทก์ว่าต่ำกว่ามาตรฐาน และมีหนังสือเตือนโจทก์ให้ปรับปรุงการปฏิบัติงานและได้มีคำสั่งปลดโจทก์ออกจากการเป็นพนักงานแล้วไขข่าวแพร่หลายซึ่งข้อความอันฝ่าฝืนต่อความจริง ซึ่งต่อมาศาลแรงงานกลางได้มีคำพิพากษาถึงที่สุดให้บริษัทฯ รับโจทก์กลับเข้าทำงานต่อไป การกระทำของจำเลยทำให้โจทก์ทั้งสามได้รับความเสียหาย

            จำเลยทั้งสามให้การทำนองเดียวกันว่า คดีนี้อยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลแรงงาน ขอให้ยกฟ้อง

            อธิบดีผู้พิพากษาศาลแรงงานกลางพิจารณาแล้ว เห็นว่า โจทก์ฟ้องว่า โจทก์เป็นลูกจ้างของบริษัท ท.  มีจำเลยที่ 1 เป็นกรรมการอำนวยการ จำเลยที่ 2 เป็นรองกรรมการอำนวยการ และจำเลยที่ 3 เป็นผู้รับผิดชอบการผลิต  ในระหว่างที่โจทก์เป็นลูกจ้าง จำเลยทั้งสามได้ร่วมกันกระทำละเมิดต่อโจทก์ โดยประเมินผลปฏิบัติงานของโจทก์ต่ำกว่ามาตรฐานและมีหนังสือเตือนให้โจทก์ปรับปรุงการปฏิบัติงานและมีคำสั่งปลดโจทก์ออกจากงานอันเป็นการใช้สิทธิโดยไม่สุจริตและได้ไขข่าวให้แพร่หลายซึ่งข้อความอันฝ่าฝืนต่อความจริง ทำให้โจทก์ได้รับความเสียหายต่ออนามัย จิตใจ ชื่อเสียงเกียรติคุณ ทางทำมาหาได้และทางเจริญของโจทก์ และสิทธิประโยชน์ที่จะได้รับจัดสรรหุ้นของบริษัทฯ นั้น เป็นการกล่าวอ้างว่าจำเลยทั้งสามซึ่งมีอำนาจกระทำการแทนบริษัท ท. ซึ่งเป็นนายจ้างได้ร่วมกันกระทำละเมิดต่อโจทก์ แต่มูลละเมิดดังกล่าวมิได้สืบเนื่องจากข้อพิพาทแรงงานหรือเกี่ยวกับการทำงานตามสัญญาจ้างแรงงาน แต่สืบเนื่องจากการที่โจทก์ถูกเลิกจ้างคดีตามมูลละเมิดดังกล่าว จึงไม่ใช่คดีอันเกิดแต่มูลละเมิดระหว่างนายจ้างและลูกจ้างสืบเนื่องจากข้อพิพาทแรงงานหรือเกี่ยวกับการทำงานตามสัญญาจ้างแรงงานตมพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ.2522 มาตรา 8 (5)

            วินิจฉัยว่า คดีนี้ไม่อยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลแรงงาน

 

...................................................................................................................

15/9/2549







Copyright © 2010 All Rights Reserved.