ReadyPlanet.com
dot dot
dot
dot
bulletขอเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างโดยไม่จ่าย ค่าชดเชย
bulletเลิกจ้างนอกข้อยกเว้น มาตรา 123
bulletลงชื่อสนับสนุนข้อเรียกร้อง
bulletข้อตกลงที่สิ้นผลผูกพัน
bulletห้ามทำสัญญาจ้างฯขัดข้อตกลงสภาพการจ้าง
dot
dot
bulletคำวินิจฉัยของศาลที่ไม่มีเหตุผลประกอบ
bulletการปฏิบัติตามคำพิพากษา
dot
dot
bulletสิทธิในการเรียกค่าขาดไร้อุปการะ
bullet“บุตร” หมายความว่าอย่างไร ?
bulletไม่ถือว่าได้รับความเดือดร้อน
dot
dot
bulletหนังสือเตือนไม่ใช่โทษ
bulletประมาทเลินเล่อ
bulletไม่ผิดยักยอกแต่เลิกจ้างเป็นธรรม
bulletปิดกิจการชั่วคราว
bulletความหมายของคำว่า “ผู้บังคับบัญชา”
bulletทำงานแต่ละทิ้งหน้าที่
bulletต้องเลือกใช้สิทธิ
bulletการระบุเหตุผลในหนังสือบอกเลิกจ้าง
bulletการใช้สิทธิร้องพนักงานตรวจแรงงานและคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พร้อมกัน
bulletการสละสิทธิไม่รับเงินประกัน
dot
dot
bulletฟ้องตัวแทนหางานในประเทศไทย
bulletฟ้องละเมิด
dot
dot
bulletจัดหางานไม่ได้รับอนุญาต
dot
dot
bulletประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจที่เป็นคุณต่อลูกจ้างแต่ออกภายหลังที่ลูกจ้างเกษียณอายุไปแล้ว
dot
dot
bulletศาลฎีกา
bulletศาลอุทธรณ์
bulletศาลแพ่ง
bulletศาลแพ่งกรุงเทพใต้
bulletศาลอาญา
bulletศาลแพ่งธนบุรี
bulletศาลแรงงานกลาง
bulletศาลล้มละลายกลาง
dot

dot
dot
dot
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
bulletกรมการจัดหางาน
bulletกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletสถาบันความปลอดภัยในการทำงาน
bulletศูนย์บริการข้อมูลและฝึกอบรมแรงงาน
bulletสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน
bulletสำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ
dot
dot
bulletบุษบาผู้น่าสงสาร
bulletขนมดังโกะ
bulletฤกษ์สึก
dot
dot
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำรายชั่วโมง
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ ซึ่งได้ประกาศให้มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550
bulletแนวทางในการส่งเสริมให้นักเรียน นิสิต และนักศึกษาเข้าทำงานในช่วงปิดภาคเรียนหรือภาคฤดูร้อน
bulletหลัก 7 ประการในการบริหารแรงงาน
bullet สาระสำคัญพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
bulletหญิงไทยกับกฎหมายแรงงานใหม่
bullet10 เคล็ดลับ เพื่อผูกใจพนักงานไว้กับองค์กร
bulletร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.........
bulletร่างพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ ฉบับคณะกรรมการกฤษฎีกา
bulletร่างพระราชบัญญัติค่าจ้างและรายได้
dot
dot
bulletโครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
bulletไทยเซฟตี้ดอทเน็ต
bulletสภาทนายความ
bulletทนายป๊อดดอทคอม
bulletสำนักกฎหมายทัศน์พงษ์ สกุลคู
bulletไทยจัสติสดอทคอม
bulletอาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
bulletThaiJobCenter.com
dot
dot
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนเมษายน 2550
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนพฤษภาคม 2550
dot
dot
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 3 หลักการพัฒนาตนเองให้เป็นพหูสูต
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 2 เทคนิคการปกครองคน 3 รูปแบบ
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 1
bulletเคล็ดลับ 12 ประการในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ( 12 Tips for Building Good Human Relations)
bulletผู้นำที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ ตอนที่...2
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ
bulletเรื่องของ ค คน โดยจามจุรีสีชมพู
bulletสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง


ประชาสัมพันธ์ Add Url ฟรี!


ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article

 

ก.      สิทธิในเงินทดแทน

เงินทดแทนตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 หมายถึงเงินที่จ่ายให้ลูกจ้างหรือผู้มีสิทธิตามกฎหมายเป็นค่าทดแทน ค่ารักษาพยาบาล ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพในการทำงานและค่าทำศพ ในกรณีที่ลูกจ้างประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือถึงแก่ความตายอันมีสาเหตุมาจากการทำงานให้นายจ้าง ซึ่งนายจ้างหรือผู้มีสิทธิตามกฎหมายจะมีสิทธิได้รับเงินทดแทนนี้

(1) กรณีประสบอันตราย หมายถึง การที่ลูกจ้างได้รับอันตรายแก่กาย หรือผลกระทบแก่จิตใจ หรือถึงแก่ความตายเนื่องจากทำงานให้นายจ้าง การทำงานตามคำสั่งของนายจ้าง หรือการป้องกันรักษาผลประโยชน์ให้แก่นายจ้าง กล่าวคือต้องเกิดขึ้นด้วยเหตุอันเนื่องมาจากการทำงานให้นายจ้างนั่นเอง ดังนั้นในระหว่างการนัดหยุดงานหรือการปิดงานซึ่งลูกจ้างไม่ได้ทำงานให้นายจ้างนั้น หากลูกจ้างประสบอันตรายดังกล่าวซึ่งย่อมมิใช่เนื่องจากการทำงานให้นายจ้าง ลูกจ้างก็ย่อมไม่มีสิทธิได้รับเงินทดแทน

(2) กรณีเจ็บป่วย หมายถึง การที่ลูกจ้างเจ็บป่วย หรือถึงแก่ความตายด้วยโรคซึ่งเกิดขึ้นตามลักษณะ หรือสภาพของงาน หรือเนื่องจากการทำงานซึ่งกฎหมายได้กำหนดชนิดของโรคไว้ เช่น โรคเกิดจากสารหนู สารตะกั่ว สารแมงกานีส ฟอสฟอรัส หรือจากสารประกอบเป็นพิษของสารนั้นๆ หรือโรคหรือการเจ็บป่วยอย่างอื่นอันเป็นผลเนื่องจากการทำงาน ฯลฯ เป็นต้น แต่ถ้าเป็นโรคประจำตัวของลูกจ้างแล้ว แม้จะเกิดตายขณะทำงานก็ไม่ถือว่าเกี่ยวข้องกับการทำงาน

กรณีนี้ไม่ว่าลูกจ้างจะเจ็บป่วยหรือถึงแก่ความตายในระหว่าง หรือภายหลังการนัดหยุดงาน หรือการปิดงานก็ตาม ลูกจ้างหรือทายาทผู้อยู่ในอุปการะของลูกจ้างย่อมมีสิทธิได้รับเงินทดแทนหากการเจ็บป่วยหรือการตายนั้นเป็นผลเนื่องมาจากการทำงานให้นายจ้างด้วยโรคดังกล่าว

(3) กรณีสูญหาย หมายถึง การที่ลูกจ้างหายไปในระหว่างการทำงานหรือปฏิบัติตามคำสั่งของนายจ้าสงซึ่งมีเหตุอันควรเชื่อว่าลูกจ้างถึงแก่ความตายเพราะประสบเหตุอันตรายที่เกิดขึ้นในระหว่างทำงาน หรือปฏิบัติตามคำสั่งของนายจ้าง

กรณีนี้หากลูกจ้างสูญหายไปในระหว่างการนัดหยุดงานหรือการปิดงาน ซึ่งลูกจ้างไม่ได้ทำงานให้นายจ้าง ทายาทหรือผู้อยู่ในอุปการะของลูกจ้างย่อมไม่มีสิทธิได้รับเงินทดแทนเพราะการสูญหายมิได้เกิดขึ้นในระหว่างการทำงาน หรือปฏิบัติตามคำสั่งของนายจ้าง

 

ข.      สิทธิในประโยชน์ทดแทน

ลูกจ้างผู้ประกันตนตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 และพระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2537 ยังคงมีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนตามกฎหมายนี้ทุกประการหากได้ปฏิบัติถูกต้องครบถ้วนตามที่กำหนดไว้ในกฎหมาย ทั้งนี้เพราะสัญญาจ้างแรงงานยังไม่สิ้นสุดลงนั่นเอง อีกทั้งการได้รับประโยชน์ทดแทนตามกฎหมายประกันสังคมในกรณีประสบอันตราย หรือเจ็บป่วย หรือกรณีตายนั้นเองเกิดขึ้นเพราะเหตุอื่นที่มิใช่เนื่องจากการทำงานให้นายจ้าง หรือการปฏิบัติตามคำสั่งของนายจ้าง

           

โดย: กิติพงศ์   หังสพฤกษ์,บทความผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน,(วารสารศาลแรงงาน ปีที่ 12 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2539)น.52-62

 รวมคำพิพากษาฎีกา ตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 ทศวรรษที่ 2 (ปี พ.ศ. 2532-2542) น.231– 232

 

 

 

 

*** 18/9/2549***




คำอธิบาย กฎหมายแรงงาน

ความแตกต่างระหว่างมาตรา 31 วรรคหนึ่งกับมาตรา 121 (1) article
การลาเพื่อกิจการสหภาพแรงงาน
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ผลทางกฎหมายของการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน ตอนที่ 3 การนัดหยุดงานรูปแบบสับเปลี่ยนหมุนเวียนและแบบสกัดกั้นสายการผลิต article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
รูปแบบการนัดหยุดงานและการปิดงาน article
ความแตกต่างระหว่างข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่เกิดและไม่ได้เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้อง article
หน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง article
คำเตือน article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.