ReadyPlanet.com
dot dot
dot
dot
bulletขอเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างโดยไม่จ่าย ค่าชดเชย
bulletเลิกจ้างนอกข้อยกเว้น มาตรา 123
bulletลงชื่อสนับสนุนข้อเรียกร้อง
bulletข้อตกลงที่สิ้นผลผูกพัน
bulletห้ามทำสัญญาจ้างฯขัดข้อตกลงสภาพการจ้าง
dot
dot
bulletคำวินิจฉัยของศาลที่ไม่มีเหตุผลประกอบ
bulletการปฏิบัติตามคำพิพากษา
dot
dot
bulletสิทธิในการเรียกค่าขาดไร้อุปการะ
bullet“บุตร” หมายความว่าอย่างไร ?
bulletไม่ถือว่าได้รับความเดือดร้อน
dot
dot
bulletหนังสือเตือนไม่ใช่โทษ
bulletประมาทเลินเล่อ
bulletไม่ผิดยักยอกแต่เลิกจ้างเป็นธรรม
bulletปิดกิจการชั่วคราว
bulletความหมายของคำว่า “ผู้บังคับบัญชา”
bulletทำงานแต่ละทิ้งหน้าที่
bulletต้องเลือกใช้สิทธิ
bulletการระบุเหตุผลในหนังสือบอกเลิกจ้าง
bulletการใช้สิทธิร้องพนักงานตรวจแรงงานและคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พร้อมกัน
bulletการสละสิทธิไม่รับเงินประกัน
dot
dot
bulletฟ้องตัวแทนหางานในประเทศไทย
bulletฟ้องละเมิด
dot
dot
bulletจัดหางานไม่ได้รับอนุญาต
dot
dot
bulletประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจที่เป็นคุณต่อลูกจ้างแต่ออกภายหลังที่ลูกจ้างเกษียณอายุไปแล้ว
dot
dot
bulletศาลฎีกา
bulletศาลอุทธรณ์
bulletศาลแพ่ง
bulletศาลแพ่งกรุงเทพใต้
bulletศาลอาญา
bulletศาลแพ่งธนบุรี
bulletศาลแรงงานกลาง
bulletศาลล้มละลายกลาง
dot

dot
dot
dot
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
bulletกรมการจัดหางาน
bulletกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletสถาบันความปลอดภัยในการทำงาน
bulletศูนย์บริการข้อมูลและฝึกอบรมแรงงาน
bulletสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน
bulletสำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ
dot
dot
bulletบุษบาผู้น่าสงสาร
bulletขนมดังโกะ
bulletฤกษ์สึก
dot
dot
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำรายชั่วโมง
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ ซึ่งได้ประกาศให้มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550
bulletแนวทางในการส่งเสริมให้นักเรียน นิสิต และนักศึกษาเข้าทำงานในช่วงปิดภาคเรียนหรือภาคฤดูร้อน
bulletหลัก 7 ประการในการบริหารแรงงาน
bullet สาระสำคัญพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
bulletหญิงไทยกับกฎหมายแรงงานใหม่
bullet10 เคล็ดลับ เพื่อผูกใจพนักงานไว้กับองค์กร
bulletร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.........
bulletร่างพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ ฉบับคณะกรรมการกฤษฎีกา
bulletร่างพระราชบัญญัติค่าจ้างและรายได้
dot
dot
bulletโครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
bulletไทยเซฟตี้ดอทเน็ต
bulletสภาทนายความ
bulletทนายป๊อดดอทคอม
bulletสำนักกฎหมายทัศน์พงษ์ สกุลคู
bulletไทยจัสติสดอทคอม
bulletอาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
bulletThaiJobCenter.com
dot
dot
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนเมษายน 2550
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนพฤษภาคม 2550
dot
dot
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 3 หลักการพัฒนาตนเองให้เป็นพหูสูต
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 2 เทคนิคการปกครองคน 3 รูปแบบ
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 1
bulletเคล็ดลับ 12 ประการในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ( 12 Tips for Building Good Human Relations)
bulletผู้นำที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ ตอนที่...2
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ
bulletเรื่องของ ค คน โดยจามจุรีสีชมพู
bulletสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง


ประชาสัมพันธ์ Add Url ฟรี!


การอุทธรณ์คัดค้านคำพิพากษาของศาลแรงงาน กรณี เงินเพิ่ม กับ ความรับผิดในการชำระเงินเพิ่ม article

 

            ก็มีบ้างที่นายจ้างอาจแพ้คดีที่ลูกจ้างฟ้องเรียกค่าจ้าง ค่าล่วงเวลาพร้อมดอกเบี้ย (แต่อย่าบ่อยนักนะ) และก็มีบ้างที่ศาลจะพิพากษาให้นายจ้างจ่ายเงินเพิ่มร้อยละ 15 ต่อ 7 วันด้วย (แต่อย่าบ่อยนักนะ) เนื่องจากศาลเห็นว่า การที่นายจ้างไม่จ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลานั้นเป็นการจงใจโดยปราศจากเหตุอันสมควร เงินเพิ่มที่ศาลสั่งให้จ่ายนี้ ลูกคิดรางแก้วคำนวณไม่ถูกเลย (ต้องใช้เครื่องคิดเลขช่วย) ผลการคำนวณก็ตกอยู่ราวๆร้อยละ 782 ต่อปีเท่านั้น (ลูกจ้างคำนวณให้) เอาเป็นว่าถ้าจ่ายให้ลูกจ้างรายสองรายคงไม่เป็นไรดอก แต่หากต้องจ่ายให้ลูกจ้างร้อยสองร้อยราย งบกำไรขาดทุนปีนี้คงไม่สวยแต่ แต่ทำอย่างไรได้ คำพิพากษาของศาลต้องเคารพ  เอาละไหนๆศาลก็พิพากษาให้จ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลาพร้อมดอกเบี้ยแล้ว หากนายจ้างไม่ติดใจยอมจ่ายเงินดังกล่าวพร้อมดอกเบี้ยตามคำพิพากษาของศาลเสีย โดยนำไปวางต่อศาลให้ลูกจ้างมารับไปได้เลย (ไม่ต้องเกรงใจนายจ้าง) แต่ติดใจในเงินเพิ่มจะอุทธรณ์ต่อศาลฎีกา หากเป็นเช่นนี้ จะทำได้หรือไม่ ? (จะทำได้ไหม ทำได้หรือเปล่า ช่าช่าช่า) ได้หรือไม่ได้ครับ คำตอบคือ ได้แน่นอน เนื่องจากคำพิพากษาของศาลที่ให้รับผิดในค่าจ้าง ค่าล่วงเวลานั้น อาศัยประเด็นในการวินิจฉัยต่างจากความรับผิดในเงินเพิ่ม การไม่อุทธรณ์ในประเด็นค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา จึงไม่กระทบต่อสิทธิที่จะอุทธรณ์ในประเด็น เงินเพิ่ม (ถูกต้องแล้วครับ) คำถามต่อไปครับ การที่นายจ้างยอมจ่ายเฉพาะค่าจ้าง ค่าล่วงเวลาพร้อมดอกเบี้ย แต่ไม่จ่ายเงินเพิ่มเช่นนี้ถือเป็นการชำระหนี้ที่ถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่ครับ ? ตอบครับ (เดี๋ยวคิดก่อนซิ) ขอตอบว่า เป็นการชำระหนี้ที่ถูกต้องตามกฎหมายครับ (เพราะอะไรหรือครับ) เพราะกฎหมายกำหนดให้เฉพาะดอกเบี้ยเท่านั้นที่เป็นหนี้อุปกรณ์ของหนี้ค่าจ้าง ค่าล่วงเวลาซึ่งเป็นหนี้ประธาน การชำระหนี้ประธานกฎหมายกำหนดให้ต้องชำระหนี้อุปกรณ์พ่วงไปด้วย ส่วนเงินเพิ่มมิใช่หนี้อุปกรณ์เหมือนเช่นดอกเบี้ย นายจ้างจึงสามารถแยกหนี้เงินเพิ่มมาชำระต่างหากได้ การชำระหนี้เฉพาะค่าจ้าง ค่าล่วงเวลาพร้อมดอกเบี้ยตามคำพิพากษาของศาลโดยไม่ชำระหนี้เงินเพิ่ม จึงถือเป็นการชำระหนี้ที่ถูกต้องตามกฎหมายแล้วครับ ถูกต้องแล้วครับ (เก่งจริงๆนะตัวเอง) อะไรกันเนี่ย หนี้ประธาน หนี้อุปกรณ์ วุ่นวายไปหมด แล้วจะรู้เรื่องไหมเนี่ย มันหนีไม่ออกจริงๆครับ หาคำอื่นแทนก็ไม่ได้ ค่อยๆอ่านเดี๋ยวก็เข้าใจเองแหละ คำถามต่อไปครับ (ยังไม่จบอีกเหรอ) ใกล้แล้วครับ คำถามมีอยู่ว่า เมื่อชำระหนี้ค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา พร้อมดอกเบี้ยแล้ว ต่อมาหากศาลฎีกาวินิจฉัยว่า นายจ้างต้องรับผิดในเงินเพิ่มตามที่ศาลแรงงานได้วินิจฉัยไว้ หากเป็นเช่นนี้ นายจ้างต้องรับผิดในเงินเพิ่มเพียงใด ? มีคำตอบให้เลือกครับ 1. รับผิดนับแต่วันที่ศาลแรงงานกำหนดเรื่อยไปจนกว่าจะชำระเสร็จ หรือ 2. รับผิดนับแต่วันที่ศาลแรงงานกำหนดจนถึงวันที่ได้ชำระค่าจ้าง ค่าล่วงเวลาแล้วเสร็จ เรื่องนี้กฎหมายกำหนดให้นายจ้างเสียเงินเพิ่มให้ลูกจ้างร้อยละ 15 ของเงินที่ค้างจ่ายทุกระยะ 7 วัน เมื่อได้ตอบไปแล้วว่า การชำระค่าจ้าง ค่าล่วงเวลาพร้อมดอกเบี้ย โดยไม่ชำระเงินเพิ่มนั้น ถือเป็นการชำระหนี้ที่ชอบด้วยกฎหมายแล้ว หนี้ในเงินค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา จึงเป็นอันระงับ เมื่อหนี้ระงับจึงไม่มีเงินค้างจ่ายตามที่กฎหมายกำหนดอีกต่อไป ดังนั้น ความรับผิดของนายจ้างในเงินเพิ่มจึงมีอยู่นับแต่วันที่ศาลแรงงานกำหนดจนถึงวันที่ได้ชำระค่าจ้าง ค่าล่วงเวลาแล้วเสร็จเท่านั้น คำตอบข้อ 2. จึงเป็นคำตอบที่ถูกต้องแล้วครับ (แฟนใครเนี่ย เก่งจริงๆ)

 

-----------------------------------------

 

                                             สมบัติ ลีกัล  8 มกราคม 2550              




กฎหมายอื่นใน กฎหมายแรงงาน

เกษียณอายุ กับ การบอกกล่าวล่วงหน้า article
ลิขสิทธิ์ กับ ลูกจ้างผู้รับเหมาแรงงาน article
หลักการแสดงเจตนา กับ การเจรจาข้อเรียกร้อง article
การปรับค่าจ้างย้อนหลัง กับ ดอกเบี้ย article
ลูกจ้างทำหนังสือรับสภาพหนี้ให้นายจ้าง โดยมีผู้ค้ำประกันคนใหม่ยอมรับผิด ผู้ค้ำประกันคนเก่าพ้นความรับผิดหรือไม่ ? article
No Work No Pay
จ่ายค่าชดเชยอย่างมีเงื่อนไข กับ สิทธิการได้รับดอกเบี้ย
ทำสัญญาจ้างงานแล้ว ก่อนถึงวันเริ่มงาน เปลี่ยนใจยกเลิกสัญญา ผลทางกฎหมายเป็นอย่างไร ?
บอกเลิกจ้างขณะข้อตกลงมีผลบังคับ แต่ให้มีผลในวันที่ข้อตกลงสิ้นอายุแล้ว ผลทางกฎหมาย ?
ลงชื่อทำงานล่วงเวลาแล้วขอยกเลิก ผลทางกฎหมายเป็นอย่างไร ?
เป็นลูกจ้างก่อนนายจ้างเป็นนิติบุคคลอายุงานนับอย่างไร ?
ละเมิด กับ ผิดสัญญา เหมือนและต่างกันอย่างไร ? article
อายุความ กรณีละเมิด กับ ผิดสัญญา ต่างกันอย่างไร ? article
ดอกเบี้ย กรณีละเมิด กับ ผิดสัญญา ต่างกันอย่างไร ? article
เงินทดแทนกรณีว่างงาน กับ การเกษียณอายุ article
นายจ้างบอกเลิกจ้างแล้วยกเลิกได้หรือไม่ ? article
นายจ้างบอกเลิกจ้างแล้วขอเลื่อนเวลาให้เร็วขึ้นได้หรือไม่ ? article
ลูกจ้างแจ้งลาออกล่วงหน้าแล้วขอเลื่อนเวลาให้เร็วขึ้นได้หรือไม่ ? article
คณะกรรมการสหภาพที่ถูกนายทะเบียนเพิกถอน ตอน 2 ..ไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้ article
คณะกรรมการสหภาพที่ถูกนายทะเบียนเพิกถอน ตอนที่ 1 article
การประนีประนอมยอมความค่าเสียหายตามคำสั่งคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ article
ปัญหาดอกเบี้ยและเงินเพิ่ม กรณีลูกจ้างปฏิเสธเงินชดเชย article
ความเห็นในเชิงกฎหมายกับการทำหน้าที่ที่ปรึกษากฎหมายแรงงานสัมพันธ์ article
อายุความ กับ วันหยุดพักผ่อนประจำปี article
ผู้ค้ำประกัน 2 คน ค้ำประกันการทำงานลูกจ้างคนเดียวกัน รับผิดอย่างไร article
การจ่ายค่าจ้าง กับ การไม่มอบงานให้ทำ article
ระยะเวลา อายุความ การเริ่มเจรจาข้อเรียกร้องใน 3 วัน article
การจ่ายเงินสกุลอื่นตามสัญญาจ้างเป็นเงินไทยทำอย่างไร?จึงถูกกฎหมาย article
การทำหน้าที่ฝ่ายบุคคลกับความรับผิดในทางแพ่ง article
การฟ้องเพิกถอนคำสั่งคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ กับ อายุความ article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.