ReadyPlanet.com
dot dot
dot
dot
bulletขอเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างโดยไม่จ่าย ค่าชดเชย
bulletเลิกจ้างนอกข้อยกเว้น มาตรา 123
bulletลงชื่อสนับสนุนข้อเรียกร้อง
bulletข้อตกลงที่สิ้นผลผูกพัน
bulletห้ามทำสัญญาจ้างฯขัดข้อตกลงสภาพการจ้าง
dot
dot
bulletคำวินิจฉัยของศาลที่ไม่มีเหตุผลประกอบ
bulletการปฏิบัติตามคำพิพากษา
dot
dot
bulletสิทธิในการเรียกค่าขาดไร้อุปการะ
bullet“บุตร” หมายความว่าอย่างไร ?
bulletไม่ถือว่าได้รับความเดือดร้อน
dot
dot
bulletหนังสือเตือนไม่ใช่โทษ
bulletประมาทเลินเล่อ
bulletไม่ผิดยักยอกแต่เลิกจ้างเป็นธรรม
bulletปิดกิจการชั่วคราว
bulletความหมายของคำว่า “ผู้บังคับบัญชา”
bulletทำงานแต่ละทิ้งหน้าที่
bulletต้องเลือกใช้สิทธิ
bulletการระบุเหตุผลในหนังสือบอกเลิกจ้าง
bulletการใช้สิทธิร้องพนักงานตรวจแรงงานและคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พร้อมกัน
bulletการสละสิทธิไม่รับเงินประกัน
dot
dot
bulletฟ้องตัวแทนหางานในประเทศไทย
bulletฟ้องละเมิด
dot
dot
bulletจัดหางานไม่ได้รับอนุญาต
dot
dot
bulletประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจที่เป็นคุณต่อลูกจ้างแต่ออกภายหลังที่ลูกจ้างเกษียณอายุไปแล้ว
dot
dot
bulletศาลฎีกา
bulletศาลอุทธรณ์
bulletศาลแพ่ง
bulletศาลแพ่งกรุงเทพใต้
bulletศาลอาญา
bulletศาลแพ่งธนบุรี
bulletศาลแรงงานกลาง
bulletศาลล้มละลายกลาง
dot

dot
dot
dot
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
bulletกรมการจัดหางาน
bulletกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletสถาบันความปลอดภัยในการทำงาน
bulletศูนย์บริการข้อมูลและฝึกอบรมแรงงาน
bulletสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน
bulletสำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ
dot
dot
bulletบุษบาผู้น่าสงสาร
bulletขนมดังโกะ
bulletฤกษ์สึก
dot
dot
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำรายชั่วโมง
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ ซึ่งได้ประกาศให้มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550
bulletแนวทางในการส่งเสริมให้นักเรียน นิสิต และนักศึกษาเข้าทำงานในช่วงปิดภาคเรียนหรือภาคฤดูร้อน
bulletหลัก 7 ประการในการบริหารแรงงาน
bullet สาระสำคัญพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
bulletหญิงไทยกับกฎหมายแรงงานใหม่
bullet10 เคล็ดลับ เพื่อผูกใจพนักงานไว้กับองค์กร
bulletร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.........
bulletร่างพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ ฉบับคณะกรรมการกฤษฎีกา
bulletร่างพระราชบัญญัติค่าจ้างและรายได้
dot
dot
bulletโครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
bulletไทยเซฟตี้ดอทเน็ต
bulletสภาทนายความ
bulletทนายป๊อดดอทคอม
bulletสำนักกฎหมายทัศน์พงษ์ สกุลคู
bulletไทยจัสติสดอทคอม
bulletอาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
bulletThaiJobCenter.com
dot
dot
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนเมษายน 2550
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนพฤษภาคม 2550
dot
dot
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 3 หลักการพัฒนาตนเองให้เป็นพหูสูต
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 2 เทคนิคการปกครองคน 3 รูปแบบ
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 1
bulletเคล็ดลับ 12 ประการในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ( 12 Tips for Building Good Human Relations)
bulletผู้นำที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ ตอนที่...2
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ
bulletเรื่องของ ค คน โดยจามจุรีสีชมพู
bulletสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง


ประชาสัมพันธ์ Add Url ฟรี!


การชำระเงินเพิ่ม กับ การเรียกคืนเงินเพิ่ม article

            ในคดีที่ศาลแรงงานพิพากษาให้นายจ้างชำระค่าจ้าง ค่าล่วงเวลาพร้อมดอกเบี้ยให้ลูกจ้างและยังพิพากษาให้ชำระเงินเพิ่มเนื่องจากเห็นว่า นายจ้างจงใจไม่ชำระโดยปราศจากเหตุอันสมควรอีกด้วย กรณีเช่นนี้ เมื่อนายจ้างอุทธรณ์คำพิพากษาต่อศาลฎีกาในประเด็นเงินเพิ่มเพียงประเด็นเดียว โดยยอมชำระเงินตามรายการอื่นๆทั้งหมด รวมทั้งชำระเงินเพิ่มด้วย ด้วยเห็นว่า เงินเพิ่มนั้นมีจำนวนสูงมาก หากจะรอจนกว่าศาลฎีกามีคำวินิจฉัยโดยยังไม่ยอมชำระก็จะใช้เวลานานนับปี ระหว่างที่รอนี้เงินเพิ่มก็จะเดินไม่หยุด หากต้องแพ้คดีในชั้นฎีกาอีก ก็คงต้องจ่ายเงินเพิ่มจำนวนมหาศาล นายจ้างจึงไม่ต้องการเสี่ยงที่จะจ่ายเงินจำนวนมากเช่นนี้ จึงต้องการจ่ายเงินเพิ่มให้ลูกจ้างตามคำพิพากษาของศาลไปเสียก่อน หากต่อมาศาลฎีกาพิพากษาแก้ให้นายจ้างชนะคดีในประเด็นเงินเพิ่ม นายจ้างค่อยมาฟ้องลูกจ้างเรียกเงินเพิ่มที่ชำระไปแล้วคืนภายหลัง กรณีเช่นนี้นายจ้างทำได้หรือไม่ ?

            การฟ้องคดีต่อศาลนั้นไม่ว่าจะเป็นคดีใดก็ตาม การฟ้องต้องพิจารณาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ที่กำหนดหลักเกณฑ์การฟ้องคดีไว้ โดยกฎหมายกำหนดไว้ว่า การนำคดีขึ้นสู่ศาลนั้นต้องมีเหตุโต้แย้งสิทธิของตนเสียก่อน เมื่อมีเหตุโต้แย้งสิทธิแล้วจึงจะนำคดีมาสู่ศาลได้ เรามาดูกันซิว่า หากต้องฟ้องเรียกเงินเพิ่มคืน นายจ้างจะบรรยายฟ้องอย่างไร ?

นายจ้างต้องบรรยายฟ้องว่า บัดนี้ ศาลฎีกาได้พิพากษาแล้วว่า โจทก์ไม่ต้องจ่ายเงินเพิ่มให้จำเลย (ลูกจ้าง) ดังนั้น เงินเพิ่มที่โจทก์จ่ายให้จำเลยไปตามคำพิพากษาของศาลแรงงานนั้น จำเลยจึงไม่มีสิทธิได้รับ จึงขอให้ศาลพิพากษาให้จำเลยคืนเงินเพิ่มแก่โจทก์ คำถามที่ต้องหาคำตอบในเรื่องนี้ก็คือ ฟ้องของโจทก์ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ ?

เมื่อถามย้อนกลับไปว่า ที่นายจ้างจ่ายเงินเพิ่มให้ลูกจ้างนั้น นายจ้างจ่ายเพราะเหตุใด คำตอบที่ได้ก็คือ จ่ายเพราะศาลแรงงานพิพากษาให้จ่าย เมื่อถามต่อว่า ทำไมนายจ้างต้องจ่าย คำตอบที่ได้ก็คือ กฎหมายบอกว่า คำพิพากษาศาลแรงงานมีผลผูกพันคู่ความในกระบวนพิจารณาของศาลที่พิพากษา นั้นก็หมายรวมถึงนายจ้างด้วย นายจ้างจึงต้องจ่าย เมื่อถามต่อว่า ผูกพันตั้งแต่เมื่อใด กฎหมายบอกว่า ผูกพันตั้งแต่วันที่ได้พิพากษา แล้วถามว่า ผูกพันจนถึงเมื่อใด กฎหมายบอกว่า ผูกพันจนถึงวันที่คำพิพากษานั้นได้ถูกเปลี่ยนแปลง แก้ไข กลับ หรืองดเสียถ้าหากมี เมื่อเป็นเช่นนี้ การที่นายจ้างชำระเงินเพิ่มให้ลูกจ้างตามคำพิพากษาของศาลแรงงานก่อนที่ศาลฎีกาจะมีคำพิพากษาเปลี่ยนแปลง ย่อมเป็นการชำระหนี้ที่ชอบด้วยกฎหมาย ผลการชำระหนี้ที่ชอบด้วยกฎหมายส่งผลให้หนี้ระงับ เมื่อหนี้ระงับเสียแล้ว แม้ต่อมาศาลฎีกาจะพิพากษาแก้คำพิพากษาของศาลแรงงาน โดยให้นายจ้างไม่ต้องชำระเงินเพิ่มให้ลูกจ้าง ก็ไม่ส่งผลให้การชำระหนี้เงินเพิ่มที่ชอบด้วยกฎหมายและระงับไปแล้วต้องเสียไปแต่อย่างใดไม่ การที่นายจ้างนำหนี้ที่ชำระไปโดยชอบด้วยกฎหมายและระงับไปแล้วมาเป็นเหตุฟ้องคดี จึงถือได้ว่า เป็นกรณีที่นายจ้างไม่มีเหตุโต้แย้งสิทธิ นายจ้างจึงไม่มีอำนาจฟ้อง

กล่าวโดยสรุป นายจ้างไม่อาจฟ้องเรียกเงินเพิ่มที่ชำระไปแล้วคืนได้

    

 

                                   สมบัติ ลีกัล   8 มกราคม 2550




กฎหมายวิธีพิจารณาคดีแรงงาน

การบรรยายฟ้อง ละเมิด กับ ผิดสัญญาจ้าง article
เหตุตามหนังสือเลิกจ้าง กับ การพิจารณาคดี article
บอกกล่าวล่วงหน้า กับ เลิกจ้างไม่เป็นธรรม article
เกษียณอายุ กับ การเลิกจ้างไม่เป็นธรรม article
การรับข้อเท็จจริงในศาลแรงงาน article
การแก้ฟ้องในคดีแรงงาน article
เหตุเลิกจ้างที่ไม่ปรากฏในหนังสือเลิกจ้าง กับ การพิจารณาของ ครส. และศาล article
ข้อกฎหมายที่ไม่เป็นสาระแก่การพิจารณาของศาลฎีกา article
การถอนฟ้อง กับ คดีแรงงาน
เมื่อพนักงานตรวจแรงงานลืมสั่งจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า ทำอย่างไรดี ?
เลิกจ้างเพราะละทิ้งหน้าที่ 3 วัน กับ ละทิ้งหน้าที่ 3 เดือน เลือกอะไรดี ?
การฟ้องผู้รับเหมาชั้นต้นให้รับผิดตามคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน
พนักงานตรวจแรงงานฟ้องแย้งเรียกให้นายจ้างซึ่งเป็นโจทก์จ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าที่ตนมิได้สั่งได้หรือไม่ ?
เหตุผลในการบอกเลิกจ้าง กับ สิทธิในการยกขึ้นอ้างในศาล
สิทธิในดอกเบี้ยในค่าเสียหายตามคำสั่งคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ กับ การไม่ใช้สิทธิฟ้องแย้งเรียกดอกเบี้ยของลูกจ้าง article
ปัญหาการชำระดอกเบี้ยในค่าเสียหายตามคำสั่งคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ article
การฟ้องเพิกถอนคำวินิจฉัยที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นที่สุด article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.