ReadyPlanet.com
dot dot
dot
dot
bulletขอเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างโดยไม่จ่าย ค่าชดเชย
bulletเลิกจ้างนอกข้อยกเว้น มาตรา 123
bulletลงชื่อสนับสนุนข้อเรียกร้อง
bulletข้อตกลงที่สิ้นผลผูกพัน
bulletห้ามทำสัญญาจ้างฯขัดข้อตกลงสภาพการจ้าง
dot
dot
bulletคำวินิจฉัยของศาลที่ไม่มีเหตุผลประกอบ
bulletการปฏิบัติตามคำพิพากษา
dot
dot
bulletสิทธิในการเรียกค่าขาดไร้อุปการะ
bullet“บุตร” หมายความว่าอย่างไร ?
bulletไม่ถือว่าได้รับความเดือดร้อน
dot
dot
bulletหนังสือเตือนไม่ใช่โทษ
bulletประมาทเลินเล่อ
bulletไม่ผิดยักยอกแต่เลิกจ้างเป็นธรรม
bulletปิดกิจการชั่วคราว
bulletความหมายของคำว่า “ผู้บังคับบัญชา”
bulletทำงานแต่ละทิ้งหน้าที่
bulletต้องเลือกใช้สิทธิ
bulletการระบุเหตุผลในหนังสือบอกเลิกจ้าง
bulletการใช้สิทธิร้องพนักงานตรวจแรงงานและคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พร้อมกัน
bulletการสละสิทธิไม่รับเงินประกัน
dot
dot
bulletฟ้องตัวแทนหางานในประเทศไทย
bulletฟ้องละเมิด
dot
dot
bulletจัดหางานไม่ได้รับอนุญาต
dot
dot
bulletประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจที่เป็นคุณต่อลูกจ้างแต่ออกภายหลังที่ลูกจ้างเกษียณอายุไปแล้ว
dot
dot
bulletศาลฎีกา
bulletศาลอุทธรณ์
bulletศาลแพ่ง
bulletศาลแพ่งกรุงเทพใต้
bulletศาลอาญา
bulletศาลแพ่งธนบุรี
bulletศาลแรงงานกลาง
bulletศาลล้มละลายกลาง
dot

dot
dot
dot
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
bulletกรมการจัดหางาน
bulletกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletสถาบันความปลอดภัยในการทำงาน
bulletศูนย์บริการข้อมูลและฝึกอบรมแรงงาน
bulletสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน
bulletสำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ
dot
dot
bulletบุษบาผู้น่าสงสาร
bulletขนมดังโกะ
bulletฤกษ์สึก
dot
dot
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำรายชั่วโมง
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ ซึ่งได้ประกาศให้มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550
bulletแนวทางในการส่งเสริมให้นักเรียน นิสิต และนักศึกษาเข้าทำงานในช่วงปิดภาคเรียนหรือภาคฤดูร้อน
bulletหลัก 7 ประการในการบริหารแรงงาน
bullet สาระสำคัญพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
bulletหญิงไทยกับกฎหมายแรงงานใหม่
bullet10 เคล็ดลับ เพื่อผูกใจพนักงานไว้กับองค์กร
bulletร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.........
bulletร่างพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ ฉบับคณะกรรมการกฤษฎีกา
bulletร่างพระราชบัญญัติค่าจ้างและรายได้
dot
dot
bulletโครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
bulletไทยเซฟตี้ดอทเน็ต
bulletสภาทนายความ
bulletทนายป๊อดดอทคอม
bulletสำนักกฎหมายทัศน์พงษ์ สกุลคู
bulletไทยจัสติสดอทคอม
bulletอาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
bulletThaiJobCenter.com
dot
dot
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนเมษายน 2550
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนพฤษภาคม 2550
dot
dot
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 3 หลักการพัฒนาตนเองให้เป็นพหูสูต
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 2 เทคนิคการปกครองคน 3 รูปแบบ
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 1
bulletเคล็ดลับ 12 ประการในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ( 12 Tips for Building Good Human Relations)
bulletผู้นำที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ ตอนที่...2
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ
bulletเรื่องของ ค คน โดยจามจุรีสีชมพู
bulletสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง


ประชาสัมพันธ์ Add Url ฟรี!


สิทธิในดอกเบี้ยในค่าเสียหายตามคำสั่งคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ กับ การไม่ใช้สิทธิฟ้องแย้งเรียกดอกเบี้ยของลูกจ้าง article

 

          เดือนที่แล้ว เขียนเรื่อง ปัญหาการชำระดอกเบี้ยในค่าเสียหายตามคำสั่งคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ โดยสรุปว่า แม้คณะกรรมการฯจะมิได้สั่งให้นายจ้างชำระดอกเบี้ยในค่าเสียหายไว้ในคำสั่งด้วยก็ไม่เป็นไร หากลูกจ้างเข้ามาเป็นจำเลยร่วมในคดีที่นายจ้างฟ้องเพิกถอนคำสั่งคณะกรรมการฯ ลูกจ้างย่อมฟ้องแย้งมาในคำให้การเพื่อเรียกให้นายจ้างชำระดอกเบี้ยให้ หากนายจ้างแพ้คดี ลูกจ้างย่อมได้รับดอกเบี้ยด้วยในคราวเดียวกัน

         

          เมื่อเขียนจบก็มีคำถามตามมาว่า ถ้าลูกจ้างเข้ามาเป็นจำเลยร่วม แต่มิได้ฟ้องแย้งเรียกดอกเบี้ย เมื่อศาลพิพากษาให้นายจ้างแพ้คดี โดยยกฟ้องโจทก์เสีย กรณีเช่นนี้ ลูกจ้างจะเสียสิทธิในดอกเบี้ยหรือไม่ แล้วทำอย่างไรลูกจ้างจึงจะได้ดอกเบี้ย?

 

          กรณีที่ศาลพิพากษายกฟ้องของนายจ้าง ก็ย่อมหมายความว่า คำสั่งของคณะกรรมการฯ นั้นชอบแล้ว นายจ้างต้องปฏิบัติตามคำสั่งดังกล่าว โดยจ่ายค่าเสียหายให้ลูกจ้าง และดอกเบี้ยล่ะ ?  นายจ้างจะจ่ายให้ด้วยไหม ? นายจ้างส่วนใหญ่ก็คงไม่จ่าย ถ้าถามว่า เพราะอะไรจึงไม่จ่าย? นายจ้างก็คงตอบว่า เพราะคณะกรรมการฯ มิได้สั่งให้จ่าย ถามว่า นายจ้างตอบผิดไหม ? คำตอบคือ ไม่ผิด คณะการรมการมิได้สั่งให้จ่ายจริง ถ้าเช่นนั้นลูกจ้างก็เสียสิทธิในดอกเบี้ยอย่างนั้นหรือ ?

 

          เรื่องนี้แม้คณะกรรมการฯ จะมิได้สั่งให้นายจ้างจ่ายดอกเบี้ยด้วยก็จริงอยู่ แต่ค่าเสียหายที่คณะกรรมการฯสั่งนั้น ถือเป็นหนี้เงิน กรณีนี้เงินนี้ กฎหมายกำหนดให้คิดดอกเบี้ยในระหว่างเวลาผิดนัดร้อยละเจ็ดครึ่งต่อไป วันที่ครบกำหนดต้องชำระค่าเสียหายให้ลูกจ้างตามคำสั่งของคณะกรรมการฯ ถือเป็นวันผิดนัด  นับแต่วันดังกล่าวเป็นต้นไปนายจ้างมีหน้าที่ต้องชำระดอกเบี้ยให้แก่ลูกจ้าง จนกว่าจะชำระค่าเสียหายแล้วเสร็จ สิทธิในดอกเบี้ยจึงเกิดขึ้นโดยผลของกฎหมาย แม้คณะกรรมการฯ จะมิได้มีคำสั่งไว้ ก็ไม่เป็นเหตุให้ลูกจ้างเสียสิทธิในดอกเบี้ยดังกล่าว ดังนั้น ลูกจ้างจึงมีสิทธิที่จะเรียกดอกเบี้ยในเงินค่าเสียหายจากนายจ้างได้โดยชอบ

 

          มีคำถามต่อไปว่า เมื่อลูกจ้างมีสิทธิในดอกเบี้ย แต่ลูกจ้างมิได้ฟ้องแย้งในคำให้การเพื่อเรียกดอกเบี้ยด้วยเช่นนี้ ลูกจ้างจะเสียสิทธิในการฟ้องคดีให้นายจ้างชำระดอกเบี้ยหรือไม่ ?

          การฟ้องแย้งเป็นสิทธิของจำเลยตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ซึ่งนำมาใช้ในการพิจารณาคดีแรงงานด้วย โดยจำเลยจะฟ้องแย้งเข้ามาในคำให้การด้วยหรือไม่ก็ได้ หากลูกจ้างซึ่งเป็นจำเลยร่วมไม่ประสงค์จะใช้สิทธิฟ้องแย้งนายจ้างซึ่งเป็นโจทก์ เพื่อเรียกดอกเบี้ย ก็มิได้หมายความว่า ลูกจ้างจะเสียสิทธิแต่อย่างใดไม่ ลูกจ้างยังคงมีสิทธิฟ้องนายจ้างเป็นคดีใหม่ เพื่อเรียกดอกเบี้ยได้โดยชอบ

 

............................................................. สมบัติ ลีกัล    6/02/2550




กฎหมายวิธีพิจารณาคดีแรงงาน

การบรรยายฟ้อง ละเมิด กับ ผิดสัญญาจ้าง article
เหตุตามหนังสือเลิกจ้าง กับ การพิจารณาคดี article
บอกกล่าวล่วงหน้า กับ เลิกจ้างไม่เป็นธรรม article
เกษียณอายุ กับ การเลิกจ้างไม่เป็นธรรม article
การรับข้อเท็จจริงในศาลแรงงาน article
การแก้ฟ้องในคดีแรงงาน article
เหตุเลิกจ้างที่ไม่ปรากฏในหนังสือเลิกจ้าง กับ การพิจารณาของ ครส. และศาล article
ข้อกฎหมายที่ไม่เป็นสาระแก่การพิจารณาของศาลฎีกา article
การถอนฟ้อง กับ คดีแรงงาน
เมื่อพนักงานตรวจแรงงานลืมสั่งจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า ทำอย่างไรดี ?
เลิกจ้างเพราะละทิ้งหน้าที่ 3 วัน กับ ละทิ้งหน้าที่ 3 เดือน เลือกอะไรดี ?
การฟ้องผู้รับเหมาชั้นต้นให้รับผิดตามคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน
พนักงานตรวจแรงงานฟ้องแย้งเรียกให้นายจ้างซึ่งเป็นโจทก์จ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าที่ตนมิได้สั่งได้หรือไม่ ?
เหตุผลในการบอกเลิกจ้าง กับ สิทธิในการยกขึ้นอ้างในศาล
ปัญหาการชำระดอกเบี้ยในค่าเสียหายตามคำสั่งคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ article
การชำระเงินเพิ่ม กับ การเรียกคืนเงินเพิ่ม article
การฟ้องเพิกถอนคำวินิจฉัยที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นที่สุด article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.