ReadyPlanet.com
dot dot
dot
dot
bulletขอเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างโดยไม่จ่าย ค่าชดเชย
bulletเลิกจ้างนอกข้อยกเว้น มาตรา 123
bulletลงชื่อสนับสนุนข้อเรียกร้อง
bulletข้อตกลงที่สิ้นผลผูกพัน
bulletห้ามทำสัญญาจ้างฯขัดข้อตกลงสภาพการจ้าง
dot
dot
bulletคำวินิจฉัยของศาลที่ไม่มีเหตุผลประกอบ
bulletการปฏิบัติตามคำพิพากษา
dot
dot
bulletสิทธิในการเรียกค่าขาดไร้อุปการะ
bullet“บุตร” หมายความว่าอย่างไร ?
bulletไม่ถือว่าได้รับความเดือดร้อน
dot
dot
bulletหนังสือเตือนไม่ใช่โทษ
bulletประมาทเลินเล่อ
bulletไม่ผิดยักยอกแต่เลิกจ้างเป็นธรรม
bulletปิดกิจการชั่วคราว
bulletความหมายของคำว่า “ผู้บังคับบัญชา”
bulletทำงานแต่ละทิ้งหน้าที่
bulletต้องเลือกใช้สิทธิ
bulletการระบุเหตุผลในหนังสือบอกเลิกจ้าง
bulletการใช้สิทธิร้องพนักงานตรวจแรงงานและคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พร้อมกัน
bulletการสละสิทธิไม่รับเงินประกัน
dot
dot
bulletฟ้องตัวแทนหางานในประเทศไทย
bulletฟ้องละเมิด
dot
dot
bulletจัดหางานไม่ได้รับอนุญาต
dot
dot
bulletประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจที่เป็นคุณต่อลูกจ้างแต่ออกภายหลังที่ลูกจ้างเกษียณอายุไปแล้ว
dot
dot
bulletศาลฎีกา
bulletศาลอุทธรณ์
bulletศาลแพ่ง
bulletศาลแพ่งกรุงเทพใต้
bulletศาลอาญา
bulletศาลแพ่งธนบุรี
bulletศาลแรงงานกลาง
bulletศาลล้มละลายกลาง
dot

dot
dot
dot
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
bulletกรมการจัดหางาน
bulletกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletสถาบันความปลอดภัยในการทำงาน
bulletศูนย์บริการข้อมูลและฝึกอบรมแรงงาน
bulletสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน
bulletสำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ
dot
dot
bulletบุษบาผู้น่าสงสาร
bulletขนมดังโกะ
bulletฤกษ์สึก
dot
dot
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำรายชั่วโมง
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ ซึ่งได้ประกาศให้มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550
bulletแนวทางในการส่งเสริมให้นักเรียน นิสิต และนักศึกษาเข้าทำงานในช่วงปิดภาคเรียนหรือภาคฤดูร้อน
bulletหลัก 7 ประการในการบริหารแรงงาน
bullet สาระสำคัญพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
bulletหญิงไทยกับกฎหมายแรงงานใหม่
bullet10 เคล็ดลับ เพื่อผูกใจพนักงานไว้กับองค์กร
bulletร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.........
bulletร่างพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ ฉบับคณะกรรมการกฤษฎีกา
bulletร่างพระราชบัญญัติค่าจ้างและรายได้
dot
dot
bulletโครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
bulletไทยเซฟตี้ดอทเน็ต
bulletสภาทนายความ
bulletทนายป๊อดดอทคอม
bulletสำนักกฎหมายทัศน์พงษ์ สกุลคู
bulletไทยจัสติสดอทคอม
bulletอาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
bulletThaiJobCenter.com
dot
dot
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนเมษายน 2550
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนพฤษภาคม 2550
dot
dot
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 3 หลักการพัฒนาตนเองให้เป็นพหูสูต
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 2 เทคนิคการปกครองคน 3 รูปแบบ
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 1
bulletเคล็ดลับ 12 ประการในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ( 12 Tips for Building Good Human Relations)
bulletผู้นำที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ ตอนที่...2
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ
bulletเรื่องของ ค คน โดยจามจุรีสีชมพู
bulletสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง


ประชาสัมพันธ์ Add Url ฟรี!


เรื่องของ ค คน โดยจามจุรีสีชมพู

ปัจจุบันหลายหลักการ หลายๆ หลักวิชาการ หลายๆ รูปแบบกิจกรรม มุ่งพัฒนา ค คนกันทั้งนั้น หากบริษัทใดมี   ค คน หรือพนักงานที่มีศักยภาพ ทัศนคติที่ดี ย่อมส่งผลต่อการงานที่มีคุณภาพสูงเป็นผลผลิตออกสู่สายตา มหาชน

                ปัญหาก็คือ               ทำอย่างไรคนจึงมีศักยภาพสูง ?

                                                ทำอย่างไรคนจะมี ทัศนคติที่ดี ?

                                                ทำอย่างไรคนจะมี คุณภาพสูง ?          

ในหลักวิชาการ ณ ปัจจุบัน มักเน้นให้คนต้องมีสมรรถนะหรือ Competency ตรงตามที่องค์กรต้องการในแต่ละสาขาอาชีพ

สมรรถนะ หรือ Competency” นั้นแบ่งกว้างๆ ได้เป็น 2 ส่วนหลัก คือ

1.        สมรรถนะหลัก หรือ “Core Competency” คือ คุณลักษณะหลักที่แต่ละองค์กรต้องการให้พนักงานของตนมีคุณลักษณะเหล่านั้น และเป็นความต้องการหลักในการคัดเลือก พัฒนาบุคคลากร เช่น ความรู้ด้านภาษาต่างประเทศ ความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ หรือการเป็นคนใฝ่หาความรู้

2.        สมรรถนะเฉพาะทางในแต่ละวิชาชีพ หรือ “Professional Competency” เป็นคุณลักษณะเฉพาะด้านในแต่ละสายวิชาชีพ เช่น คุณลักษณะเฉพาะสายอาชีพด้านนักบัญชี นักการตลาด ซึ่งบุคคลในแต่ละสายอาชีพพึงต้องมีคุณลักษณะเป็นการเฉพาะเจาะจง ยกตัวอย่างเช่น นักบัญชี ต้องมีสมรรถนะพิเศษในด้านความละเอียดถี่ถ้วน ในด้านการวิเคราะห์การเงิน การบริหารการเงินเป็นต้น

µ    บางกรณีในบางองค์กรเน้นให้บางวิชาชีพต้องมีสมรรถนะในเชิงการบริหาร หรือ “Managerial Competency” เป็น Competency ซึ่งแยกออกจาก 2 ข้อข้างต้นนั้น เพราะบางองค์กรดังกล่าวนั้น เน้นให้พนักงานของตนมีความเป็นผู้บริหาร ผู้นำนั่นเอง (ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะธุรกิจ หรือ ความจำเป็นของธุรกิจเป็นสำคัญ)

 

โดยสรุป “Competency” ก็คือ

ความสามารถหรือสมรรถนะของพนักงานหรือหากพูดให้เข้าใจได้ง่ายๆ เป็นภาษา Recruitment HR. ก็อาจใช้คำว่า คุณสมบัติที่ต้องมี แทนก็ได้ และแบ่งได้เป็น 2 คุณสมบัติหรือคุณลักษณะใหญ่ๆ ดังนี้

        - คุณสมบัติหรือคุณลักษณะที่ 1 คือสมรรถนะหรือความสามารถหลักที่ต้องมีในตัวบุคคลนั้นๆ หรือในองค์กรนั้นๆ

        - คุณสมบัติหรือคุณลักษณะที่ 2 คือสมรรถนะหรือความสามารถเฉพาะทางในวิชาชีพ ที่กำหนดให้ผู้ปฏิบัติงานใน

           อาชีพเฉพาะนั้นๆ จำเป็นต้องมี

        สรุป Competency หรือสมรรถนะนี้จะใช้ในการคัดเลือก พัฒนาบุคคลากร รวมทั้ง การบริหารบุคคลากรอื่นๆ มากมาย

                วันนี้ได้เกริ่นนำด้วยงานเบื้องหน้าของ HR ที่จะต้องพบกับพนักงานเป็นด่านแรก หากนัก Recruit ได้รับใบสั่ง    ใบคำขอว่าจ้างพนักงานจาก line โดยใช้คำว่า competency หรือสมรรถนะ แทนคำว่า Qualification หรือ คุณสมบัติ ก็จงอย่า ง..งง นะคะ เพราะวันนี้รู้แล้วว่ามันคือคำศัพท์ในครอบครัวเดียวกันแหละ ครั้งต่อไปจะมีรายละเอียดเพิ่ม ถ้าสนใจอย่าลืมติดตามตอนต่อไปนะค่ะ     

                พบกันใหม่บทความหน้า ท่านที่ต้องการทราบอะไรเกี่ยวกับงานบุคคล จามจุรี สีชมพู ยินดี๊ ยินดีตอบนะค่ะ สวัสดีค่ะ

 

 

 







Copyright © 2010 All Rights Reserved.