ReadyPlanet.com
dot dot
dot
dot
bulletขอเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างโดยไม่จ่าย ค่าชดเชย
bulletเลิกจ้างนอกข้อยกเว้น มาตรา 123
bulletลงชื่อสนับสนุนข้อเรียกร้อง
bulletข้อตกลงที่สิ้นผลผูกพัน
bulletห้ามทำสัญญาจ้างฯขัดข้อตกลงสภาพการจ้าง
dot
dot
bulletคำวินิจฉัยของศาลที่ไม่มีเหตุผลประกอบ
bulletการปฏิบัติตามคำพิพากษา
dot
dot
bulletสิทธิในการเรียกค่าขาดไร้อุปการะ
bullet“บุตร” หมายความว่าอย่างไร ?
bulletไม่ถือว่าได้รับความเดือดร้อน
dot
dot
bulletหนังสือเตือนไม่ใช่โทษ
bulletประมาทเลินเล่อ
bulletไม่ผิดยักยอกแต่เลิกจ้างเป็นธรรม
bulletปิดกิจการชั่วคราว
bulletความหมายของคำว่า “ผู้บังคับบัญชา”
bulletทำงานแต่ละทิ้งหน้าที่
bulletต้องเลือกใช้สิทธิ
bulletการระบุเหตุผลในหนังสือบอกเลิกจ้าง
bulletการใช้สิทธิร้องพนักงานตรวจแรงงานและคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พร้อมกัน
bulletการสละสิทธิไม่รับเงินประกัน
dot
dot
bulletฟ้องตัวแทนหางานในประเทศไทย
bulletฟ้องละเมิด
dot
dot
bulletจัดหางานไม่ได้รับอนุญาต
dot
dot
bulletประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจที่เป็นคุณต่อลูกจ้างแต่ออกภายหลังที่ลูกจ้างเกษียณอายุไปแล้ว
dot
dot
bulletศาลฎีกา
bulletศาลอุทธรณ์
bulletศาลแพ่ง
bulletศาลแพ่งกรุงเทพใต้
bulletศาลอาญา
bulletศาลแพ่งธนบุรี
bulletศาลแรงงานกลาง
bulletศาลล้มละลายกลาง
dot

dot
dot
dot
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
bulletกรมการจัดหางาน
bulletกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletสถาบันความปลอดภัยในการทำงาน
bulletศูนย์บริการข้อมูลและฝึกอบรมแรงงาน
bulletสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน
bulletสำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ
dot
dot
bulletบุษบาผู้น่าสงสาร
bulletขนมดังโกะ
bulletฤกษ์สึก
dot
dot
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำรายชั่วโมง
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ ซึ่งได้ประกาศให้มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550
bulletแนวทางในการส่งเสริมให้นักเรียน นิสิต และนักศึกษาเข้าทำงานในช่วงปิดภาคเรียนหรือภาคฤดูร้อน
bulletหลัก 7 ประการในการบริหารแรงงาน
bullet สาระสำคัญพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
bulletหญิงไทยกับกฎหมายแรงงานใหม่
bullet10 เคล็ดลับ เพื่อผูกใจพนักงานไว้กับองค์กร
bulletร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.........
bulletร่างพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ ฉบับคณะกรรมการกฤษฎีกา
bulletร่างพระราชบัญญัติค่าจ้างและรายได้
dot
dot
bulletโครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
bulletไทยเซฟตี้ดอทเน็ต
bulletสภาทนายความ
bulletทนายป๊อดดอทคอม
bulletสำนักกฎหมายทัศน์พงษ์ สกุลคู
bulletไทยจัสติสดอทคอม
bulletอาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
bulletThaiJobCenter.com
dot
dot
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนเมษายน 2550
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนพฤษภาคม 2550
dot
dot
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 3 หลักการพัฒนาตนเองให้เป็นพหูสูต
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 2 เทคนิคการปกครองคน 3 รูปแบบ
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 1
bulletเคล็ดลับ 12 ประการในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ( 12 Tips for Building Good Human Relations)
bulletผู้นำที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ ตอนที่...2
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ
bulletเรื่องของ ค คน โดยจามจุรีสีชมพู
bulletสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง


ประชาสัมพันธ์ Add Url ฟรี!


พุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 3 หลักการพัฒนาตนเองให้เป็นพหูสูต

หลักการพัฒนาตนเองให้เป็นพหูสูต

          ในการบริหารจัดการโลกธุรกิจในปัจจุบัน ผู้บริหารต้องเป็นผู้รอบรู้และมีวิสัยทัศน์กว้างไกล

          การจะเป็นผู้รอบรู้และมีวิสัยทัศน์กว้างไกลได้ ต้องรู้จักพัฒนาตนเอง โดยปฏิบัติตามหลักพหูสูต 5 ข้อคือ

  1. ต้องฟังเป็น Listening skill การฟังจากผู้รู้และมีประสบการณ์ในด้านนั้นๆ ดีกว่าอ่านหนังสือหลายเล่ม
  2. ฝึกจดจำที่ดี Memory skill นักบริหารที่ดีต้องมีความจำดี จำเนื้อหาสาระได้แม่นยำ คอมพิวเตอร์อาจช่วยได้ในบางเรื่องแต่ไม่หมดทุกเรื่อง โดยเฉพาะเมื่อมีคำถามเรื่องปัญหาเฉพาะหน้าเกิดขึ้น
  3. ฝึกให้ปฏิบัติ Frequently use  มีความรู้อยู่ในตำราไม่ได้นำมาใช้ หามีประโยชน์ไม่
  4. เป็นนักวิเคราะห์ที่ดี Good analyst  ฝึกฝนใช้ปัญญาวิเคราะห์ปัญหาและเรื่องราวต่างๆ เป็นประจำสม่ำเสมอ
  5. รอบรู้ทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ รู้ทั้งนโยบายและแนวปฏิบัติสอดคล้องกับนโยบายโบราณคาถาว่า สุ จิ ปุ ลิ (สุ= ฟัง จิ = คิดตาม ปุ = สงสัยให้ถาม ลิ =  เขียนบันทึกไว้กันลืม) เป็นอีกคาถาหนึ่งในการสร้างตนให้เป็นคนเก่ง
  6. เทคนิคฝึกตนเป็นนักพูดที่ดี (หลักปฏิสัมภิทา)

โปรดทำความเข้าใจว่า มนุษย์ทำงานอยู่ร่วมกันนั้น ใช้คำพูดสื่อสารกันมากที่สุด

การพูดเป็น จึงเป็นคุณสมบัติอันหนึ่งซึ่งจะขาดมิได้สำหรับผู้บริหาร คนที่จะพูดเป็น (ไม่ใช่พูดเก่ง) ต้องปฏิบัติ ดังนี้

1.    อัตถะปฏิสัมภิทา : ต้องรู้และเข้าใจเนื้อหาสารัตถะดี

2.    ธัมมะปฏิสัมภิทา : รู้เข้าใจนโยบาย ความมุ่งหมาย และวิธีปฏิบัติ เพื่อเกิดความสำเร็จ ตามนโยบาย ความมุ่งหมาย และวิธีปฏิบัติเพื่อเกิดความสำเร็จตามนโยบาย และเป้าหมาย

3.    นิรุตติปฏิสัมภิทา :  ต้องเก่งภาษา หรือเป็นนักอักษรศาสตร์ หรือเป็น linguist

4.    ปฏิภาณะปฏิสัมภิทา :  ต้องมีไหวพริบปฏิภาณดี มีชั้นเชิงในการพูด และต้องมีความรู้สึกไว (smart,acumen)

 

 ศิริพงษ์  ศรีชัยรมย์รัตน์ , การบริหารจัดการธุรกิจตามแนวพุทธศาสตร์







Copyright © 2010 All Rights Reserved.