ReadyPlanet.com
dot dot
dot
dot
bulletขอเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างโดยไม่จ่าย ค่าชดเชย
bulletเลิกจ้างนอกข้อยกเว้น มาตรา 123
bulletลงชื่อสนับสนุนข้อเรียกร้อง
bulletข้อตกลงที่สิ้นผลผูกพัน
bulletห้ามทำสัญญาจ้างฯขัดข้อตกลงสภาพการจ้าง
dot
dot
bulletคำวินิจฉัยของศาลที่ไม่มีเหตุผลประกอบ
bulletการปฏิบัติตามคำพิพากษา
dot
dot
bulletสิทธิในการเรียกค่าขาดไร้อุปการะ
bullet“บุตร” หมายความว่าอย่างไร ?
bulletไม่ถือว่าได้รับความเดือดร้อน
dot
dot
bulletหนังสือเตือนไม่ใช่โทษ
bulletประมาทเลินเล่อ
bulletไม่ผิดยักยอกแต่เลิกจ้างเป็นธรรม
bulletปิดกิจการชั่วคราว
bulletความหมายของคำว่า “ผู้บังคับบัญชา”
bulletทำงานแต่ละทิ้งหน้าที่
bulletต้องเลือกใช้สิทธิ
bulletการระบุเหตุผลในหนังสือบอกเลิกจ้าง
bulletการใช้สิทธิร้องพนักงานตรวจแรงงานและคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พร้อมกัน
bulletการสละสิทธิไม่รับเงินประกัน
dot
dot
bulletฟ้องตัวแทนหางานในประเทศไทย
bulletฟ้องละเมิด
dot
dot
bulletจัดหางานไม่ได้รับอนุญาต
dot
dot
bulletประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจที่เป็นคุณต่อลูกจ้างแต่ออกภายหลังที่ลูกจ้างเกษียณอายุไปแล้ว
dot
dot
bulletศาลฎีกา
bulletศาลอุทธรณ์
bulletศาลแพ่ง
bulletศาลแพ่งกรุงเทพใต้
bulletศาลอาญา
bulletศาลแพ่งธนบุรี
bulletศาลแรงงานกลาง
bulletศาลล้มละลายกลาง
dot

dot
dot
dot
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
bulletกรมการจัดหางาน
bulletกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletสถาบันความปลอดภัยในการทำงาน
bulletศูนย์บริการข้อมูลและฝึกอบรมแรงงาน
bulletสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน
bulletสำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ
dot
dot
bulletบุษบาผู้น่าสงสาร
bulletขนมดังโกะ
bulletฤกษ์สึก
dot
dot
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำรายชั่วโมง
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ ซึ่งได้ประกาศให้มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550
bulletแนวทางในการส่งเสริมให้นักเรียน นิสิต และนักศึกษาเข้าทำงานในช่วงปิดภาคเรียนหรือภาคฤดูร้อน
bulletหลัก 7 ประการในการบริหารแรงงาน
bullet สาระสำคัญพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
bulletหญิงไทยกับกฎหมายแรงงานใหม่
bullet10 เคล็ดลับ เพื่อผูกใจพนักงานไว้กับองค์กร
bulletร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.........
bulletร่างพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ ฉบับคณะกรรมการกฤษฎีกา
bulletร่างพระราชบัญญัติค่าจ้างและรายได้
dot
dot
bulletโครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
bulletไทยเซฟตี้ดอทเน็ต
bulletสภาทนายความ
bulletทนายป๊อดดอทคอม
bulletสำนักกฎหมายทัศน์พงษ์ สกุลคู
bulletไทยจัสติสดอทคอม
bulletอาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
bulletThaiJobCenter.com
dot
dot
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนเมษายน 2550
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนพฤษภาคม 2550
dot
dot
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 3 หลักการพัฒนาตนเองให้เป็นพหูสูต
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 2 เทคนิคการปกครองคน 3 รูปแบบ
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 1
bulletเคล็ดลับ 12 ประการในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ( 12 Tips for Building Good Human Relations)
bulletผู้นำที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ ตอนที่...2
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ
bulletเรื่องของ ค คน โดยจามจุรีสีชมพู
bulletสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง


ประชาสัมพันธ์ Add Url ฟรี!


เหตุตามหนังสือเลิกจ้าง กับ การพิจารณาคดี article

             มีคดีเรื่องหนึ่งนายจ้างต่อสู้คดีว่า เลิกจ้างลูกจ้างไม่มาทำงานเมื่อวันที่ 22 และ 26 มีนาคม 2547 แล้วแก้ไขข้อมูลว่ามาทำงานเป็นเหตุให้นายจ้างต้องจ่ายค่าอาหาร 2 วัน เป็นเงิน 20 บาท เป็นการทุจริต แต่ศาลแรงงานกลางฟังข้อเท็จจริงว่า ลูกจ้างไม่มาทำงานเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2547 แต่แก้ไขข้อมูลว่ามาทำงานในวันดังกล่าว ทำให้ลูกจ้างได้รับประโยชน์เป็นเบี้ยขยันเดือนละ 300 บาท และค่าอาหารวันละ 10 บาท อันเป็นการทุจริตต่อหน้าที่ในวันที่ 24 มีนาคม 2547 ซึ่งเป็นการทุจริตต่อหน้าที่คนละวันกัน แต่ก็เป็นการระบุเรื่องลูกจ้างทุจริตต่อหน้าที่เป็นเหตุผลในการเลิกจ้างไว้ในหนังสือเลิกจ้างแล้ว เพียงแต่ระบุวันที่ลูกจ้างทุจริตต่อหน้าที่ผิดพลาดไปซึ่งเป็นรายละเอียดเท่านั้น นายจ้างย่อมยกเหตุผลที่ลูกจ้างทุจริตต่อหน้าที่ขึ้นต่อสู้เพื่อไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยได้

หากเป็นเช่นนี้ นายจ้างย่อมชนะคดีไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยใช่หรือไม่ ?

            การระบุเหตุเลิกจ้างในหนังสือเลิกจ้างนั้น เจตนารมณ์ของกฎหมายต้องการให้ลูกจ้างรู้ตัวว่าถูกนายจ้างเลิกจ้างด้วยข้อเท็จจริงใด ส่วนข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับข้อเท็จจริงอันเป็นเหตุเลิกจ้างนั้นจะเป็นเช่นไรก็ไม่สำคัญ แม้นายจ้างระบุข้อกฎหมายผิดๆถูกๆก็ไม่เป็นไร อย่างไรเสีย ศาลย่อมมีหน้าที่ปรับข้อเท็จจริงตามหนังสือเลิกจ้างให้ตรงตามข้อกฎหมายที่ถูกต้องเอง ดังนั้น การระบุข้อเท็จจริงในหนังสือเลิกจ้างว่า ลูกจ้างทุจริตในวันที่ 22 และ 26 มีนาคม 2547 แม้จะคลาดเคลื่อนไปจากความเป็นจริงบ้างก็ไม่เป็นไร ลูกจ้างพอเข้าใจได้ว่า ตนเองถูกเลิกจ้างด้วยสาเหตุทุจริตนั้นเอง ลำพังบอกในหนังสือเลิกจ้างเพียงว่า เลิกจ้างเพราะเหตุลูกจ้างทุจริตโดยไม่ระบุวันที่ทุจริตไม่ระบุเรื่องราวที่ทุจริตเลยศาลฎีกาก็ยังถือว่า เป็นหนังสือเลิกจ้างที่บอกเหตุเลิกจ้างโดยชอบแล้ว

            ปัญหามาเกิดตอนนายจ้างต่อสู้คดี หากนายจ้างยังคงยืนยันข้อเท็จจริงโดยเขียนในคำให้การว่า ลูกจ้างทุจริตวันที่ 22 และ 26 มีนาคม 2547 โดยมิได้ยกข้อเท็จจริงการทุจริตในวันที่ 24 มีนาคม 2547 ขึ้นต่อสู้ ปัญหาจึงมีว่า การทุจริตในวันที่ 24 มีนาคม 2547 ถือเป็นข้อเท็จจริงนอกสำนวนหรือไม่ หากเป็นข้อเท็จจริงนอกสำนวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ย่อมต้องห้ามมิให้ศาลรับฟัง หากต้องห้ามมิให้ศาลรับฟังเสียแล้ว จะพิพากษาให้นายจ้างชนะคดีได้อย่างไร ?

                                                ...................................................... สมบัติ ลีกัล 30 สิงหาคม 2553   




กฎหมายวิธีพิจารณาคดีแรงงาน

การบรรยายฟ้อง ละเมิด กับ ผิดสัญญาจ้าง article
บอกกล่าวล่วงหน้า กับ เลิกจ้างไม่เป็นธรรม article
เกษียณอายุ กับ การเลิกจ้างไม่เป็นธรรม article
การรับข้อเท็จจริงในศาลแรงงาน article
การแก้ฟ้องในคดีแรงงาน article
เหตุเลิกจ้างที่ไม่ปรากฏในหนังสือเลิกจ้าง กับ การพิจารณาของ ครส. และศาล article
ข้อกฎหมายที่ไม่เป็นสาระแก่การพิจารณาของศาลฎีกา article
การถอนฟ้อง กับ คดีแรงงาน
เมื่อพนักงานตรวจแรงงานลืมสั่งจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า ทำอย่างไรดี ?
เลิกจ้างเพราะละทิ้งหน้าที่ 3 วัน กับ ละทิ้งหน้าที่ 3 เดือน เลือกอะไรดี ?
การฟ้องผู้รับเหมาชั้นต้นให้รับผิดตามคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน
พนักงานตรวจแรงงานฟ้องแย้งเรียกให้นายจ้างซึ่งเป็นโจทก์จ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าที่ตนมิได้สั่งได้หรือไม่ ?
เหตุผลในการบอกเลิกจ้าง กับ สิทธิในการยกขึ้นอ้างในศาล
สิทธิในดอกเบี้ยในค่าเสียหายตามคำสั่งคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ กับ การไม่ใช้สิทธิฟ้องแย้งเรียกดอกเบี้ยของลูกจ้าง article
ปัญหาการชำระดอกเบี้ยในค่าเสียหายตามคำสั่งคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ article
การชำระเงินเพิ่ม กับ การเรียกคืนเงินเพิ่ม article
การฟ้องเพิกถอนคำวินิจฉัยที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นที่สุด article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.