ReadyPlanet.com
dot dot
dot
dot
bulletขอเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างโดยไม่จ่าย ค่าชดเชย
bulletเลิกจ้างนอกข้อยกเว้น มาตรา 123
bulletลงชื่อสนับสนุนข้อเรียกร้อง
bulletข้อตกลงที่สิ้นผลผูกพัน
bulletห้ามทำสัญญาจ้างฯขัดข้อตกลงสภาพการจ้าง
dot
dot
bulletคำวินิจฉัยของศาลที่ไม่มีเหตุผลประกอบ
bulletการปฏิบัติตามคำพิพากษา
dot
dot
bulletสิทธิในการเรียกค่าขาดไร้อุปการะ
bullet“บุตร” หมายความว่าอย่างไร ?
bulletไม่ถือว่าได้รับความเดือดร้อน
dot
dot
bulletหนังสือเตือนไม่ใช่โทษ
bulletประมาทเลินเล่อ
bulletไม่ผิดยักยอกแต่เลิกจ้างเป็นธรรม
bulletปิดกิจการชั่วคราว
bulletความหมายของคำว่า “ผู้บังคับบัญชา”
bulletทำงานแต่ละทิ้งหน้าที่
bulletต้องเลือกใช้สิทธิ
bulletการระบุเหตุผลในหนังสือบอกเลิกจ้าง
bulletการใช้สิทธิร้องพนักงานตรวจแรงงานและคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พร้อมกัน
bulletการสละสิทธิไม่รับเงินประกัน
dot
dot
bulletฟ้องตัวแทนหางานในประเทศไทย
bulletฟ้องละเมิด
dot
dot
bulletจัดหางานไม่ได้รับอนุญาต
dot
dot
bulletประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจที่เป็นคุณต่อลูกจ้างแต่ออกภายหลังที่ลูกจ้างเกษียณอายุไปแล้ว
dot
dot
bulletศาลฎีกา
bulletศาลอุทธรณ์
bulletศาลแพ่ง
bulletศาลแพ่งกรุงเทพใต้
bulletศาลอาญา
bulletศาลแพ่งธนบุรี
bulletศาลแรงงานกลาง
bulletศาลล้มละลายกลาง
dot

dot
dot
dot
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
bulletกรมการจัดหางาน
bulletกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletสถาบันความปลอดภัยในการทำงาน
bulletศูนย์บริการข้อมูลและฝึกอบรมแรงงาน
bulletสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน
bulletสำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ
dot
dot
bulletบุษบาผู้น่าสงสาร
bulletขนมดังโกะ
bulletฤกษ์สึก
dot
dot
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำรายชั่วโมง
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ ซึ่งได้ประกาศให้มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550
bulletแนวทางในการส่งเสริมให้นักเรียน นิสิต และนักศึกษาเข้าทำงานในช่วงปิดภาคเรียนหรือภาคฤดูร้อน
bulletหลัก 7 ประการในการบริหารแรงงาน
bullet สาระสำคัญพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
bulletหญิงไทยกับกฎหมายแรงงานใหม่
bullet10 เคล็ดลับ เพื่อผูกใจพนักงานไว้กับองค์กร
bulletร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.........
bulletร่างพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ ฉบับคณะกรรมการกฤษฎีกา
bulletร่างพระราชบัญญัติค่าจ้างและรายได้
dot
dot
bulletโครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
bulletไทยเซฟตี้ดอทเน็ต
bulletสภาทนายความ
bulletทนายป๊อดดอทคอม
bulletสำนักกฎหมายทัศน์พงษ์ สกุลคู
bulletไทยจัสติสดอทคอม
bulletอาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
bulletThaiJobCenter.com
dot
dot
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนเมษายน 2550
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนพฤษภาคม 2550
dot
dot
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 3 หลักการพัฒนาตนเองให้เป็นพหูสูต
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 2 เทคนิคการปกครองคน 3 รูปแบบ
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 1
bulletเคล็ดลับ 12 ประการในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ( 12 Tips for Building Good Human Relations)
bulletผู้นำที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ ตอนที่...2
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ
bulletเรื่องของ ค คน โดยจามจุรีสีชมพู
bulletสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง


ประชาสัมพันธ์ Add Url ฟรี!


การบรรยายฟ้อง ละเมิด กับ ผิดสัญญาจ้าง article

             ละเมิด กับ ผิดสัญญาจ้าง แท้จริงแล้วไม่เหมือนกัน ทั้งๆที่เกิดขึ้นพร้อมๆกัน ถ้าเช่นนั้น ต่างกันอย่างไร ?

            ละเมิด คือ การทำผิดกฎหมาย ส่วนผิดสัญญาจ้าง คือ การทำผิดข้อตกลง การทำผิดข้อตกลงอาจไม่เป็นการทำผิดกฎหมายเสมอไป ส่วนการทำผิดกฎหมายถือเป็นการทำผิดข้อตกลงด้วยเสมอไป ดังนั้น หากฟังว่า ลูกจ้างกระทำละเมิดต่อนายจ้าง ย่อมต้องฟังว่า ลูกจ้างกระทำผิดสัญญาจ้างต่อนายจ้างด้วยเสมอ

            ในการบรรยายฟ้องคดีที่นายจ้างฟ้องเรียกค่าเสียหายจากลูกจ้าง ฐานละเมิด เช่น หยุดงานไม่ชอบด้วยกฎหมาย ปิดกั้นประตูโรงงาน เป็นต้น บ่อยครั้ง นายจ้างมิได้บรรยายฟ้องให้เห็นว่า การกระทำละเมิดของลูกจ้างนั้น เป็นการผิดสัญญาจ้างประกอบด้วย จึงเกิดปัญหาว่า การบรรยายฟ้องเช่นนี้ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ ?

การบรรยายฟ้องเป็นเรื่องการตั้งรูปคดีเพื่อต่อสู้กันบนศาล โจทก์จะตั้งรูปคดีอย่างไรขึ้นอยู่กับโจทก์คิดอะไรอยู่ในใจ ไม่จำเป็นที่โจทก์ต้องตั้งรูปคดีครบถ้วนตามหลักกฎหมายเสมอไป โจทก์ยกข้อเท็จจริงใด ข้อกฎหมายใดขึ้นต่อสู้ศาลก็จะพิจารณาให้ไปตามนั้น หากไม่ยกข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายใดขึ้นต่อสู้ ศาลก็ไม่วินิจฉัยให้

ในคดีละเมิดนั้นมีอายุความ ๑ ปี ส่วนในคดีผิดสัญญาจ้างนั้น มีอายุความ ๑๐ ปี ต่างกันอย่างมาก การไม่บรรยายฟ้องว่า การกระทำละเมิดเป็นการผิดสัญญาจ้างด้วยอาจเสียสิทธิในอายุความ ๑๐ ปีได้โดยง่าย ขอให้ระวังในเรื่องนี้

มีคดีหนึ่ง นายจ้างฟ้องแย้งเรียกค่าเสียหายจากลูกจ้าง เนื่องจาก หยุดงานไม่ชอบ ปิดกั้นประตูโรงงาน โดยบรรยายฟ้องให้เห็นชัดเจนว่า การกระทำของลูกจ้างเป็นละเมิด มิได้บรรยายให้เห็นว่า เป็นการผิดสัญญาจ้างด้วยอย่างชัดเจน จึงเถียงกันว่า คดีนี้มีอายุความ ๑ ปี หรือ ๑๐ ปี ในที่สุด ศาลฎีกาตัดสินให้มีอายุความ ๑๐ ปี โดยให้เหตุผลว่า คำบรรยายฟ้องฟังได้ว่าบรรยายถึงการผิดสัญญาจ้างด้วยแล้ว

เห็นแล้วใช่ไหม การบรรยายฟ้องไม่ชัดเจนก่อให้เกิดข้อโต้เถียงกัน คดีนี้ นายจ้างชนะ ใช่ว่าคดีอื่นๆจะชนะเช่นนี้เสมอไป คดีนี้สมควรที่นายจ้างจะชนะ เนื่องจาก ลูกจ้างมีพฤติกรรมที่ไม่น่าสงสาร สิ่งที่ถูกต้อง คือ ควรบรรยายฟ้องเสียให้ครบถ้วนตามที่กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งบัญญัติไว้ เพื่อที่จะได้ชนะคดีด้วยตัวของตัวเองไม่ต้องรอการแปลความจากศาล

       ................................................................... สมบัติ ลีกัล 30 กันยายน 2553




กฎหมายวิธีพิจารณาคดีแรงงาน

เหตุตามหนังสือเลิกจ้าง กับ การพิจารณาคดี article
บอกกล่าวล่วงหน้า กับ เลิกจ้างไม่เป็นธรรม article
เกษียณอายุ กับ การเลิกจ้างไม่เป็นธรรม article
การรับข้อเท็จจริงในศาลแรงงาน article
การแก้ฟ้องในคดีแรงงาน article
เหตุเลิกจ้างที่ไม่ปรากฏในหนังสือเลิกจ้าง กับ การพิจารณาของ ครส. และศาล article
ข้อกฎหมายที่ไม่เป็นสาระแก่การพิจารณาของศาลฎีกา article
การถอนฟ้อง กับ คดีแรงงาน
เมื่อพนักงานตรวจแรงงานลืมสั่งจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า ทำอย่างไรดี ?
เลิกจ้างเพราะละทิ้งหน้าที่ 3 วัน กับ ละทิ้งหน้าที่ 3 เดือน เลือกอะไรดี ?
การฟ้องผู้รับเหมาชั้นต้นให้รับผิดตามคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน
พนักงานตรวจแรงงานฟ้องแย้งเรียกให้นายจ้างซึ่งเป็นโจทก์จ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าที่ตนมิได้สั่งได้หรือไม่ ?
เหตุผลในการบอกเลิกจ้าง กับ สิทธิในการยกขึ้นอ้างในศาล
สิทธิในดอกเบี้ยในค่าเสียหายตามคำสั่งคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ กับ การไม่ใช้สิทธิฟ้องแย้งเรียกดอกเบี้ยของลูกจ้าง article
ปัญหาการชำระดอกเบี้ยในค่าเสียหายตามคำสั่งคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ article
การชำระเงินเพิ่ม กับ การเรียกคืนเงินเพิ่ม article
การฟ้องเพิกถอนคำวินิจฉัยที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นที่สุด article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.