ReadyPlanet.com
dot dot
dot
dot
bulletขอเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างโดยไม่จ่าย ค่าชดเชย
bulletเลิกจ้างนอกข้อยกเว้น มาตรา 123
bulletลงชื่อสนับสนุนข้อเรียกร้อง
bulletข้อตกลงที่สิ้นผลผูกพัน
bulletห้ามทำสัญญาจ้างฯขัดข้อตกลงสภาพการจ้าง
dot
dot
bulletคำวินิจฉัยของศาลที่ไม่มีเหตุผลประกอบ
bulletการปฏิบัติตามคำพิพากษา
dot
dot
bulletสิทธิในการเรียกค่าขาดไร้อุปการะ
bullet“บุตร” หมายความว่าอย่างไร ?
bulletไม่ถือว่าได้รับความเดือดร้อน
dot
dot
bulletหนังสือเตือนไม่ใช่โทษ
bulletประมาทเลินเล่อ
bulletไม่ผิดยักยอกแต่เลิกจ้างเป็นธรรม
bulletปิดกิจการชั่วคราว
bulletความหมายของคำว่า “ผู้บังคับบัญชา”
bulletทำงานแต่ละทิ้งหน้าที่
bulletต้องเลือกใช้สิทธิ
bulletการระบุเหตุผลในหนังสือบอกเลิกจ้าง
bulletการใช้สิทธิร้องพนักงานตรวจแรงงานและคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พร้อมกัน
bulletการสละสิทธิไม่รับเงินประกัน
dot
dot
bulletฟ้องตัวแทนหางานในประเทศไทย
bulletฟ้องละเมิด
dot
dot
bulletจัดหางานไม่ได้รับอนุญาต
dot
dot
bulletประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจที่เป็นคุณต่อลูกจ้างแต่ออกภายหลังที่ลูกจ้างเกษียณอายุไปแล้ว
dot
dot
bulletศาลฎีกา
bulletศาลอุทธรณ์
bulletศาลแพ่ง
bulletศาลแพ่งกรุงเทพใต้
bulletศาลอาญา
bulletศาลแพ่งธนบุรี
bulletศาลแรงงานกลาง
bulletศาลล้มละลายกลาง
dot

dot
dot
dot
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
bulletกรมการจัดหางาน
bulletกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletสถาบันความปลอดภัยในการทำงาน
bulletศูนย์บริการข้อมูลและฝึกอบรมแรงงาน
bulletสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน
bulletสำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ
dot
dot
bulletบุษบาผู้น่าสงสาร
bulletขนมดังโกะ
bulletฤกษ์สึก
dot
dot
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำรายชั่วโมง
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ ซึ่งได้ประกาศให้มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550
bulletแนวทางในการส่งเสริมให้นักเรียน นิสิต และนักศึกษาเข้าทำงานในช่วงปิดภาคเรียนหรือภาคฤดูร้อน
bulletหลัก 7 ประการในการบริหารแรงงาน
bullet สาระสำคัญพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
bulletหญิงไทยกับกฎหมายแรงงานใหม่
bullet10 เคล็ดลับ เพื่อผูกใจพนักงานไว้กับองค์กร
bulletร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.........
bulletร่างพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ ฉบับคณะกรรมการกฤษฎีกา
bulletร่างพระราชบัญญัติค่าจ้างและรายได้
dot
dot
bulletโครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
bulletไทยเซฟตี้ดอทเน็ต
bulletสภาทนายความ
bulletทนายป๊อดดอทคอม
bulletสำนักกฎหมายทัศน์พงษ์ สกุลคู
bulletไทยจัสติสดอทคอม
bulletอาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
bulletThaiJobCenter.com
dot
dot
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนเมษายน 2550
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนพฤษภาคม 2550
dot
dot
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 3 หลักการพัฒนาตนเองให้เป็นพหูสูต
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 2 เทคนิคการปกครองคน 3 รูปแบบ
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 1
bulletเคล็ดลับ 12 ประการในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ( 12 Tips for Building Good Human Relations)
bulletผู้นำที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ ตอนที่...2
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ
bulletเรื่องของ ค คน โดยจามจุรีสีชมพู
bulletสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง


ประชาสัมพันธ์ Add Url ฟรี!


การดำเนินคดีอาญานายจ้าง กรณีฟ้องเพิกถอนคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน

            กรณีลูกจ้างร้องต่อพนักงานตรวจแรงงานอ้างเหตุนายจ้างไม่จ่ายเงินตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน เมื่อพนักงานตรวจแรงงานมีคำสั่งให้นายจ้างจ่ายเงินตามคำร้องของลูกจ้าง กฎหมายกำหนดให้นายจ้างต้องปฏิบัติตามคำสั่งภายใน 15 วัน นับแต่วันรับทราบคำสั่ง ในขณะเดียวกันกฎหมายก็กำหนดให้นายจ้างใช้สิทธิฟ้องเพิกถอนคำสั่งต่อศาลได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันรับทราบคำสั่งเช่นกัน

 

 ปัญหาเกิดขึ้นเมื่อนายจ้างใช้สิทธิฟ้องเพิกถอนคำสั่งภายใน 30 วัน ไม่ว่าจะเกิน 15 วัน นับแต่วันรับทราบคำสั่งหรือไม่ก็ตาม นายจ้างจะมีความผิดฐานขัดคำสั่งพนักงานตรวจแรงงานซึ่งมีโทษทางอาญาหรือไม่ ?

 

ปัญหานี้ถกเถียงกันพักใหญ่ ในที่สุดกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานก็ได้ข้อยุติว่า จะไม่ดำเนินคดีอาญาในข้อหาขัดคำสั่งพนักงานตรวจแรงงานต่อนายจ้างที่ใช้สิทธิฟ้องเพิกถอนคำสั่งภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด อย่างเพิ่งดีใจ เนื่องจาก กรมสวัสดิฯมีนโยบายจะดำเนินคดีอาญานายจ้างในข้อหาเดิมที่เป็นเหตุให้ลูกจ้างต้องมาร้องต่อพนักงานตรวจแรงงานแทน ถ้านายจ้างฟ้องคดีเพิกถอนคำสั่งแล้วศาลมีคำพิพากษายกฟ้อง หรือฟ้องคดีแล้วประนีประนอมยอมความกับลูกจ้าง โดยลูกจ้างยอมรับเงินช่วยเหลือจากนายจ้างบางส่วนแทนการรับเงินตามคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน

 

             ตัวอย่างเช่น ลูกจ้างร้องต่อพนักงานตรวจแรงงานว่า นายจ้างเลิกจ้างไม่จ่ายค่าชดเชย หากพนักงานตรวจแรงงานมีคำสั่งให้นายจ้างจ่ายค่าชดเชย แทนที่นายจ้างจะจ่ายกลับไปฟ้องเพิกถอนคำสั่งพนักงานตรวจแรงงานต่อศาลแทน กรณีอย่างนี้ หากนายจ้างชนะคดีก็แล้วไป แต่ หากนายจ้างแพ้คดีหรือประนีประนอมยอมความกับลูกจ้าง นายจ้างจะถูกพนักงานตรวจแรงงานดำเนินคดีในข้อหา เลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชยเป็นการตอบแทน

 

            ปัญหาอยู่ที่ว่า กรมสวัสดิฯนำผลคดีฟ้องเพิกถอนคำสั่งมาเป็นเงื่อนไขในการดำเนินคดีอาญานายจ้างเช่นนี้ถูกต้องหรือไม่ ?

 

            ประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติไว้ว่า บุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญาก็ต่อเมื่อได้กระทำโดยเจตนา เจตนาจึงเป็นองค์ประกอบสำคัญที่จะทำให้บุคคลต้องรับผิดทางอาญา นายจ้างจะต้องรับผิดทางอาญาหรือไม่จึงขึ้นอยู่กับเจตนาเป็นสำคัญ

 

จะดูอย่างไรว่า นายจ้างมีเจตนากระทำความผิดอาญาหรือไม่ ?

 

กรณีอย่างนี้ นักกฎหมายเขาใช้หลัก “กรรมเป็นเครื่องชี้เจตนา” มาประกอบการวินิจฉัย นั่นก็คือ ต้องพิจารณาจากการกระทำของนายจ้างในขณะกระทำการที่อ้างว่า เป็นความผิด  โดยพิจารณาประกอบหลักตรรกวิทยา เพียงแค่นี้ก็พอจะทราบได้ว่า นายจ้างมีเจตนากระทำความผิดอันจะเป็นเหตุให้ต้องรับโทษทางอาญาหรือไม่

 

กรณีตามตัวอย่าง นายจ้างอาจเชื่อว่า ตนมีสิทธิเลิกจ้างลูกจ้างโดยไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยได้ แม้ความเชื่อของนายจ้างอาจไม่เข้าข้อยกเว้นที่จะไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยตามหลักกฎหมายคุ้มครองแรงงาน แต่ ตราบใดที่ความเชื่อนั้นเป็นไปโดยสุจริตและมีเหตุมีผลตามสมควร การไม่จ่ายค่าชดเชยของนายจ้างก็ขาดเจตนาในการกระทำความผิด กรณีเช่นนี้ จึงไม่เป็นความผิดอาญา

 

กฎหมายกำหนดให้นายจ้างต้องจ่ายค่าชดเชยนับแต่วันเลิกจ้าง ดังนั้น ความรับผิดของนายจ้างทั้งทางแพ่งและอาญาจึงต้องเกิดขึ้นในวันเลิกจ้างนั่นเอง ในทางแพ่ง ความรับผิดในเงินต้นและดอกเบี้ยก็นับแต่วันเลิกจ้าง ในทางอาญา ความผิดสำเร็จก็ต้องนับแต่วันเลิกจ้างเช่นกันเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหลังวันเลิกจ้างไม่อาจนำมาเป็นเครื่องชี้วัดเจตนาได้ วันที่นายจ้างแพ้คดีเพิกถอนคำสั่งพนักงานตรวจแรงงานเกิดขึ้นภายหลังวันเลิกจ้างนานนับเดือนหรือบางคดีนานนับปีด้วยซ้ำไป จึงเป็นไปไม่ได้ที่ความผิดอาญาจะสำเร็จในวันที่นายจ้างแพ้คดี

 

การดำเนินคดีอาญากับนายจ้างที่ฟ้องเพิกถอนคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน ด้วยการนำผลของคดีที่ฟ้องเพิกถอนคำสั่งมาเป็นเงื่อนไข ตามนโยบายของกรมสวัสดิฯไม่สอดรับกับหลักความรับผิดของบุคคลในทางอาญา ที่ถูกต้องกรมสวัสดิฯควรสอบข้อเท็จจริงให้ครบถ้วน หากข้อเท็จจริงฟังได้ ณ วันเลิกจ้างว่า นายจ้างมีเจตนากระทำความผิด ก็ควรดำเนินคดีอาญาต่อไป แต่หากข้อเท็จจริงฟังได้ว่า นายจ้างไม่มีเจตนากระทำความผิด ก็ไม่ควรดำเนินคดีอาญานายจ้าง แม้นายจ้างจะแพ้ในคดีฟ้องเพิกถอนคำสั่งพนักงานตรวจแรงงานก็ตาม

 

               ......................................................สมบัติ ลีกัล 6 กันยายน 2550




ห้องเรียน กฎหมายแรงงาน

จำเป็นต้องระบุเรื่อง ค่าชดเชยและสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าในหนังสือเลิกจ้างหรือไม่ ? article
การไม่อนุมัติให้ลาออก กับ สิทธิในเงินบำเหน็จ article
ระเบียบข้อบังคับที่เกิดจากประเพณีการทำงาน article
เงินประจำตำแหน่ง กับ ปัญหาที่ติดตามมา ? article
ค่าตกใจ กับ ลูกจ้างรายวัน article
อายุงานกับการปิดงานและนัดหยุดงาน article
การระบุในหนังสือเลิกจ้างให้ลูกจ้างมารับค่าจ้างค้างจ่ายภายใน 3 วัน นับแต่วันเลิกจ้าง มีผลทางกฎหมายอย่างไร ? article
การลาออก กับ การบอกกล่าวล่วงหน้า article
เหตุเลิกจ้าง กับ การเขียนหนังสือเลิกจ้าง article
เลิกจ้างโดยปริยาย article
ค่ากะ article
ลาบวช article
บอกเลิกจ้างล่วงหน้าเป็นหนังสือ article
ล่อซื้อ article
ทำงานล่วงเวลา กับ อำนาจของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ article
สินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า กับ จงใจขัดคำสั่ง article
ลากิจกับหัวหน้างาน article
กรรมเดียวผิดกฎหมายหลายบท กับ กรรมเดียวผิดวินัยหลายเรื่อง article
ปัญหาดอกเบี้ย และ การคืนเงินค่าชดเชย article
ลูกจ้างผู้รับเหมาแรงงาน กับ ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง article
คำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน กับ ดอกเบี้ย article
ลาเพื่อฝึกอบรม กับ ลูกจ้างรายเดือน article
การทำสัญญาจ้างต่อเนื่อง กับ ปัญหาการจ่ายค่าชดเชย article
เงินเพิ่ม กับ อายุความ article
สินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าตามสัญญา กับ อำนาจการสั่งจ่ายของพนักงานตรวจแรงงาน article
ลูกจ้างผู้รับเหมาค่าแรง กับ ปัญหาค่าชดเชย article
ลูกจ้างผู้รับเหมาค่าแรง กับ ปัญหาการกระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก article
การสละสิทธิ กับ ค่าเสียหาย article
หนังสือเลิกจ้าง กับ ข้อต่อสู้ในประเด็นค่าชดเชย article
ย้ายงาน article
ไม่ติดใจลงโทษ article
ลูกจ้างขับรถรับนักท่องเที่ยว กับ ค่าจ้างในวันหยุดพักผ่อนประจำปี article
ไม่คาดเข็มขัดนิรภัย กับ การเลิกจ้าง article
เงินที่ติดตัวลูกจ้างไปเมื่อย้ายตำแหน่ง พิจารณาอย่างไร ? article
หยุดงานไปพบนิติกรที่ศาล กับ การละทิ้งหน้าที่ article
หยุดงานไปพบนิติกรที่ศาล กับ การเลิกจ้างไม่เป็นธรรม article
จ่ายค่าจ้างสัปดาห์ละครั้ง กับ ลูกจ้างทดลองงาน
ขอเลิกจ้างกรรมการลูกจ้าง กับ ค่าชดเชย article
การปฏิเสธที่จะต่อสัญญา กับ ปัญหาการจ่ายค่าชดเชย
วันเลิกจ้าง กับ การจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า article
จงใจให้ตนเองประสบอันตราย กับ สิทธิการได้รับเงินทดแทน article
เหตุเลิกจ้าง กับ การไม่จ่ายค่าชดเชย article
ลืม กับ การฝ่าฝืนระเบียบกรณีร้ายแรง article
หลักประกันการทำงาน กับ กรมธรรม์ประกันความซื่อสัตย์ของลูกจ้าง
ข้อเท็จจริงที่ไม่ปรากฏในระเบียบ กับ การลงโทษทางวินัย article
นัดหยุดงาน กับ อายุงาน
เกษียณอายุ กับ ระเบียบข้อบังคับการทำงาน
ดอกเบี้ยในเงินค่าชดเชย กับ กิจการที่ไม่ค้ากำไร
เกษียณอายุ กับ การต่อสัญญาจ้างรายปี
ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างข้อสุดท้าย
วันหยุดในระหว่างปิดงาน
ลาป่วย กับการแจ้งทันทีในวันที่หยุดงาน
ปล่อยกู้นอกระบบ กับ ข้อบังคับการทำงาน
ลากิจ กับ สิทธิในการหักค่าจ้าง
ลาป่วยไม่มีใบรับรองแพทย์ กับ สิทธิในการหักค่าจ้าง
การใช้ใบรับรองแพทย์ของลูกปลอมประกอบการลากิจ
การย้ายกะระหว่างเจรจาข้อเรียกร้อง
เป็นสมาชิกสหภาพแรงงานไม่ชอบ เข้าร่วมนัดหยุดงาน และถูกนายจ้างปิดงาน ผลเป็นอย่างไร ?
เป็นสมาชิกสหภาพแรงงานไม่ชอบด้วยข้อบังคับ แต่ ร่วมนัดหยุดงานด้วย ผลเป็นอย่างไร ?
กรรมการลูกจ้าง กับ การเปลี่ยนตัวนายจ้าง
ลูกจ้างทดลองงาน กับ กรรมการลูกจ้าง
การแก้ไขข้อบังคับที่ไม่เป็นคุณ
เลิกจ้างลูกจ้างอายุงานไม่ครบปี กับ ค่าจ้างในวันหยุดพักผ่อนประจำปี
เลิกจ้างลูกจ้างอายุงานไม่ครบปีโดยระเบียบให้สิทธิลูกจ้างหยุดพักผ่อนประจำปีได้ตามสัดส่วน กับ ค่าจ้างในวันหยุดพักผ่อนประจำปี
สภาพการจ้าง กับ อำนาจบริหาร
เงินทดแทน กับ ประสบอันตราย กรณีแวะตลาดซื้อของใช้ให้นายจ้างก่อนมาทำงาน ?
เลิกจ้างเนื่องจากยื่นข้อเรียกร้อง พิจารณาอย่างไร ?
เกษียณอายุแต่ละตำแหน่งไม่เท่ากัน ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ ?
ข้อตกลงไม่เรียกร้องเงินอื่นใดอีก กับ ค่าจ้างงวดสุดท้าย
พนักงานตรวจแรงงาน กับ การออกคำสั่งภายใน 60 วัน
เล่นหมากฮอส กับ การละทิ้งหน้าที่
ยื่นข้อเรียกร้องไม่ชอบ หรือ ละทิ้งหน้าที่ ตกลงเลิกจ้างเพราะเหตุใด ?
เกษียณอายุ 55 หรือ 60 ?
อนุญาตให้มาสายแทนการหยุดพักผ่อนประจำปี ผลทางกฎหมายเป็นอย่างไร ?
ย้ายสถานประกอบการไปตั้งใหม่ใกล้กับสาขาที่มีอยู่เดิม ผลทางกฎหมายเป็นอย่างไร ?
ถูกเลิกจ้างเพราะปฏิบัติตามคำสั่งเจ้าพนักงานบังคับคดี แต่ ขัดคำสั่งนายจ้าง ผลทางกฎหมายเป็นอย่างไร ?
ลูกจ้างถูกเลิกจ้างไปแล้ว ค่าจ้างงวดสุดท้ายต้องจ่ายที่ใด ?
เขียนหนังสือลาออกแต่ระบุเหตุที่ลาออกว่า บริษัทเลิกจ้าง ผลทางกฎหมายเป็นอย่างไร ?
ลงบัญชีเท็จ กับ การทุจริตต่อหน้าที่
เมื่อพนักงานตรวจแรงงานไม่ได้สั่ง เรื่อง สินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า ลูกจ้างต้องฟ้องเพิกถอนคำสั่งหรือไม่ ?
อนุมัติให้ลาออกก่อนวันที่กำหนดในใบลา ผลทางกฎหมายเป็นอย่างไร ?
หนังสือเลิกจ้างไม่ระบุว่า ลูกจ้างผิดระเบียบข้อใด ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ ?
การเปลี่ยนตัวนายจ้าง กับ ความยินยอมของลูกจ้าง
ลาออกรับเงินช่วยเหลือ กับ เลิกจ้างรับเงินชดเชย เลือกอะไรดี ?
ลูกจ้างทดลองงาน กับ การแจ้งข้อเรียกร้อง
การเลิกจ้าง กับ สิทธิในการร้องต่อคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์และพนักงานตรวจแรงงาน
ระเบียบว่าด้วยการลาป่วย กับ สิทธิการได้รับค่าจ้าง
ป่วย กับ สิทธิการได้รับค่าจ้าง
หนังสือเตือน กับ โทษทางวินัย
กรรมการลูกจ้าง กับ การเตือนเป็นหนังสือ กรณีหนังสือเตือนมิใช่โทษทางวินัย
กรรมการลูกจ้าง กับ การจ่ายเงินร้อยละ 50 กรณี นายจ้างหยุดกิจการชั่วคราว
ทุจริตต่อหน้าที่ กับ ความรับผิดทางอาญา
เบี้ยขยันแบบเหมาจ่าย กับ ปัญหาที่ติดตามมา ?
การเลิกจ้างเนื่องจากความผิดทางวินัย กับ สัญญาจ้างที่มีกำหนดระยะเวลาแน่นอน
ลาป่วยตามสัดส่วน กับ การทำงานตามสัดส่วน article
ทดลองงาน กับ สัญญาจ้างที่มีกำหนดระยะเวลาการจ้างไว้แน่นอน article
สิทธิในการแต่งตั้งกรรมการลูกจ้างของสหภาพแรงงาน article
ข้อตกลงในวันหยุดพักผ่อนประจำปี กับ กฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน article
อำนาจ กับ การชี้ขาดข้อพิพาทแรงงาน ตอนที่ 2 article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.