ReadyPlanet.com
dot dot
dot
dot
bulletขอเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างโดยไม่จ่าย ค่าชดเชย
bulletเลิกจ้างนอกข้อยกเว้น มาตรา 123
bulletลงชื่อสนับสนุนข้อเรียกร้อง
bulletข้อตกลงที่สิ้นผลผูกพัน
bulletห้ามทำสัญญาจ้างฯขัดข้อตกลงสภาพการจ้าง
dot
dot
bulletคำวินิจฉัยของศาลที่ไม่มีเหตุผลประกอบ
bulletการปฏิบัติตามคำพิพากษา
dot
dot
bulletสิทธิในการเรียกค่าขาดไร้อุปการะ
bullet“บุตร” หมายความว่าอย่างไร ?
bulletไม่ถือว่าได้รับความเดือดร้อน
dot
dot
bulletหนังสือเตือนไม่ใช่โทษ
bulletประมาทเลินเล่อ
bulletไม่ผิดยักยอกแต่เลิกจ้างเป็นธรรม
bulletปิดกิจการชั่วคราว
bulletความหมายของคำว่า “ผู้บังคับบัญชา”
bulletทำงานแต่ละทิ้งหน้าที่
bulletต้องเลือกใช้สิทธิ
bulletการระบุเหตุผลในหนังสือบอกเลิกจ้าง
bulletการใช้สิทธิร้องพนักงานตรวจแรงงานและคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พร้อมกัน
bulletการสละสิทธิไม่รับเงินประกัน
dot
dot
bulletฟ้องตัวแทนหางานในประเทศไทย
bulletฟ้องละเมิด
dot
dot
bulletจัดหางานไม่ได้รับอนุญาต
dot
dot
bulletประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจที่เป็นคุณต่อลูกจ้างแต่ออกภายหลังที่ลูกจ้างเกษียณอายุไปแล้ว
dot
dot
bulletศาลฎีกา
bulletศาลอุทธรณ์
bulletศาลแพ่ง
bulletศาลแพ่งกรุงเทพใต้
bulletศาลอาญา
bulletศาลแพ่งธนบุรี
bulletศาลแรงงานกลาง
bulletศาลล้มละลายกลาง
dot

dot
dot
dot
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
bulletกรมการจัดหางาน
bulletกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletสถาบันความปลอดภัยในการทำงาน
bulletศูนย์บริการข้อมูลและฝึกอบรมแรงงาน
bulletสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน
bulletสำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ
dot
dot
bulletบุษบาผู้น่าสงสาร
bulletขนมดังโกะ
bulletฤกษ์สึก
dot
dot
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำรายชั่วโมง
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ ซึ่งได้ประกาศให้มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550
bulletแนวทางในการส่งเสริมให้นักเรียน นิสิต และนักศึกษาเข้าทำงานในช่วงปิดภาคเรียนหรือภาคฤดูร้อน
bulletหลัก 7 ประการในการบริหารแรงงาน
bullet สาระสำคัญพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
bulletหญิงไทยกับกฎหมายแรงงานใหม่
bullet10 เคล็ดลับ เพื่อผูกใจพนักงานไว้กับองค์กร
bulletร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.........
bulletร่างพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ ฉบับคณะกรรมการกฤษฎีกา
bulletร่างพระราชบัญญัติค่าจ้างและรายได้
dot
dot
bulletโครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
bulletไทยเซฟตี้ดอทเน็ต
bulletสภาทนายความ
bulletทนายป๊อดดอทคอม
bulletสำนักกฎหมายทัศน์พงษ์ สกุลคู
bulletไทยจัสติสดอทคอม
bulletอาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
bulletThaiJobCenter.com
dot
dot
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนเมษายน 2550
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนพฤษภาคม 2550
dot
dot
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 3 หลักการพัฒนาตนเองให้เป็นพหูสูต
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 2 เทคนิคการปกครองคน 3 รูปแบบ
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 1
bulletเคล็ดลับ 12 ประการในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ( 12 Tips for Building Good Human Relations)
bulletผู้นำที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ ตอนที่...2
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ
bulletเรื่องของ ค คน โดยจามจุรีสีชมพู
bulletสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง


ประชาสัมพันธ์ Add Url ฟรี!


ห้องเรียน กฎหมายแรงงาน
            กฎหมายคุ้มครองแรงงาน มาตรา 11/1 กำหนดให้ผู้ประกอบกิจการที่มอบให้บุคคลใดเป็นผู้จัดหาคนมาทำงานอันมิใช่การประกอบธุรกิจจัดหางาน โดยการทำงานนั้นเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการผลิตหรือธุรกิจในความรับผิดชอบของผู้ประกอบกิจการ และโดยบุคคลนั้นจะเป็นผู้ควบคุมดูแลการทำงานหรือรับผิดชอบในการจ่ายค่าจ้างให้แก่คนที่มาทำงานนั้นหรือไม่ก็ตาม ให้ถือว่าผู้ประกอบกิจการเป็นนายจ้างของคนที่มาทำงานดังกล่าว ด้วยความที่ถือว่าผู้ประกอบกิจการเป็นนายจ้างจึงมีคำถามเกิดขึ้นมากมาย หนึ่งในนั้นก็คือ จะนับอายุงานเพื่อจ่ายค่าชดเชยอย่างไร ?


สินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า กับ จงใจขัดคำสั่งarticle

สินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า กับ จงใจขัดคำสั่ง 

ลากิจกับหัวหน้างานarticle

ลากิจกับหัวหน้างาน

กรรมเดียวผิดกฎหมายหลายบท กับ กรรมเดียวผิดวินัยหลายเรื่องarticle

กรรมเดียวผิดกฎหมายหลายบท กับ กรรมเดียวผิดวินัยหลายเรื่อง

ปัญหาดอกเบี้ย และ การคืนเงินค่าชดเชยarticle

ปัญหาดอกเบี้ย และ การคืนเงินค่าชดเชย

ลูกจ้างผู้รับเหมาแรงงาน กับ ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างarticle

กฎหมายคุ้มครองแรงงาน มาตรา 11/1 กำหนดให้ลูกจ้างผู้รับเหมาแรงงานมีสิทธิได้รับประโยชน์และสวัสดิการเท่าเทียมและเป็นธรรม เมื่อเทียบกับลูกจ้างโดยตรงของผู้ว่าจ้างด้วยวิธีเหมาแรงงาน ก็เลยคิดกันง่ายๆว่า ถ้าลูกจ้างโดยตรงได้รับสิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาลได้ตามความเป็นจริงโดยไม่จำกัด ลูกจ้างผู้รับเหมาแรงงานที่ทำงานอย่างเดียวกับลูกจ้างโดยตรงก็น่าจะได้รับ สิทธิเช่นว่านั้นด้วย

คำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน กับ ดอกเบี้ยarticle

ลูกจ้างไปร้องต่อพนักงานตรวจแรงงาน อ้างว่า นายจ้างเลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชย นายจ้างชี้แจงว่า มิได้เลิกจ้าง หากแต่ลูกจ้างออกจากงานไปเอง พนักงานตรวจแรงงานเชื่อนายจ้าง จึงวินิจฉัยว่า นายจ้างมิได้เลิกจ้าง และมีคำสั่งยกคำร้องลูกจ้าง

ลาเพื่อฝึกอบรม กับ ลูกจ้างรายเดือนarticle

การลาเพื่อฝึกอบรมนั้นมีบัญญัติไว้ในกฎหมายคุ้มครองแรงงาน นั่นย่อมหมายความว่า ลูกจ้างมีสิทธิลาได้ นายจ้างต้องอนุญาต แต่กฎหมายมิได้บัญญัติไว้ว่า นายจ้างต้องจ่ายค่าจ้างหรือไม่ นั่นย่อมหมายความว่า นายจ้างจะจ่ายค่าจ้างหรือไม่ย่อมเป็นไปตามระเบียบข้อบังคับการทำงานหรือเป็นไปตามข้อตกลงหรือสัญญานั่นเอง

การทำสัญญาจ้างต่อเนื่อง กับ ปัญหาการจ่ายค่าชดเชยarticle
เงินเพิ่ม กับ อายุความarticle

เงินเพิ่ม กับ อายุความ

สินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าตามสัญญา กับ อำนาจการสั่งจ่ายของพนักงานตรวจแรงงานarticle

สินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าตามสัญญา กับ อำนาจการสั่งจ่ายของพนักงานตรวจแรงงาน

ลูกจ้างผู้รับเหมาค่าแรง กับ ปัญหาค่าชดเชยarticle

            กฎหมายคุ้มครองแรงงาน มาตรา 11/1 กำหนดให้ผู้ประกอบกิจการที่มอบให้บุคคลใดเป็นผู้จัดหาคนมาทำงานอันมิใช่การประกอบธุรกิจจัดหางาน โดยการทำงานนั้นเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการผลิตหรือธุรกิจในความรับผิดชอบของผู้ประกอบกิจการ และโดยบุคคลนั้นจะเป็นผู้ควบคุมดูแลการทำงานหรือรับผิดชอบในการจ่ายค่าจ้างให้แก่คนที่มาทำงานนั้นหรือไม่ก็ตาม ให้ถือว่าผู้ประกอบกิจการเป็นนายจ้างของคนที่มาทำงานดังกล่าว ด้วยความที่ถือว่าผู้ประกอบกิจการเป็นนายจ้างจึงมีคำถามเกิดขึ้นมากมาย หนึ่งในนั้นก็คือ จะนับอายุงานเพื่อจ่ายค่าชดเชยอย่างไร ?

ลูกจ้างผู้รับเหมาค่าแรง กับ ปัญหาการกระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอกarticle

ด้วยความที่กฎหมายมาตรา 11/1 กำหนดให้ถือว่าผู้ประกอบกิจการเป็นนายจ้างของคนที่มาทำงานเป็นลูกจ้างผู้รับเหมาค่าแรง จึงเกิดคำถามถึงความรับผิดของผู้ประกอบกิจการที่มีต่อลูกจ้างผู้รับเหมาค่าแรง อีกหนึ่งในคำถามเหล่านั้น ก็คือ ผู้ประกอบกิจการต้องรับผิดต่อการทำละเมิดในทางการที่จ้างของลูกจ้างผู้รับเหมาค่าแรงต่อบุคคลภายนอกหรือไม่ ?

การสละสิทธิ กับ ค่าเสียหายarticle

โดยหลักกฎหมาย อะไรที่เป็นสิทธิย่อมสละได้ เมื่อแสดงเจตนาสละเสียแล้ว สิทธินั้นย่อมสิ้นไป ไม่อาจเรียกร้องหรือบังคับตามสิทธินั้นได้อีก แต่มีสิทธิเรียกร้องบางประเภทที่แม้สละไปแล้วสิทธินั้นก็ไม่สิ้นไป อาจเรียกร้องหรือบังคับตามสิทธินั้นได้อีก

หนังสือเลิกจ้าง กับ ข้อต่อสู้ในประเด็นค่าชดเชยarticle

            กฎหมายคุ้มครองแรงงาน มาตรา 119 วรรคสุดท้ายระบุว่า การเลิกจ้างที่นายจ้างไม่ประสงค์จะจ่ายค่าชดเชยนั้น ถ้านายจ้างไม่ระบุข้อเท็จจริงอันเป็นเหตุที่เลิกจ้างไว้ในหนังสือบอกเลิกสัญญาจ้างหรือไม่ได้แจ้งเหตุที่เลิกจ้างให้ลูกจ้างทราบในขณะที่เลิกจ้าง นายจ้างจะยกเหตุนั้นขึ้นอ้างในภายหลังไม่ได้

 
 
ย้ายงานarticle

             ย้ายงาน เป็นอำนาจของนายจ้างจะย้ายลูกจ้างไปทำงานในตำแหน่งใดที่ไม่ต่ำไปกว่าเดิมก็ได้ ย่อมถือว่าเป็นคำสั่งที่ชอบและเป็นธรรม ลูกจ้างต้องปฏิบัติตาม หากฝ่าฝืนย่อมเป็นความผิดทางวินัยอาจถูกลงโทษได้

 
 
หน้า 2/8
[ก่อนหน้า]   1 2 3 4 5 6 7 8  [ถัดไป]
[Go to top]



Copyright © 2010 All Rights Reserved.