ReadyPlanet.com
dot dot
dot
dot
bulletขอเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างโดยไม่จ่าย ค่าชดเชย
bulletเลิกจ้างนอกข้อยกเว้น มาตรา 123
bulletลงชื่อสนับสนุนข้อเรียกร้อง
bulletข้อตกลงที่สิ้นผลผูกพัน
bulletห้ามทำสัญญาจ้างฯขัดข้อตกลงสภาพการจ้าง
dot
dot
bulletคำวินิจฉัยของศาลที่ไม่มีเหตุผลประกอบ
bulletการปฏิบัติตามคำพิพากษา
dot
dot
bulletสิทธิในการเรียกค่าขาดไร้อุปการะ
bullet“บุตร” หมายความว่าอย่างไร ?
bulletไม่ถือว่าได้รับความเดือดร้อน
dot
dot
bulletหนังสือเตือนไม่ใช่โทษ
bulletประมาทเลินเล่อ
bulletไม่ผิดยักยอกแต่เลิกจ้างเป็นธรรม
bulletปิดกิจการชั่วคราว
bulletความหมายของคำว่า “ผู้บังคับบัญชา”
bulletทำงานแต่ละทิ้งหน้าที่
bulletต้องเลือกใช้สิทธิ
bulletการระบุเหตุผลในหนังสือบอกเลิกจ้าง
bulletการใช้สิทธิร้องพนักงานตรวจแรงงานและคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พร้อมกัน
bulletการสละสิทธิไม่รับเงินประกัน
dot
dot
bulletฟ้องตัวแทนหางานในประเทศไทย
bulletฟ้องละเมิด
dot
dot
bulletจัดหางานไม่ได้รับอนุญาต
dot
dot
bulletประกาศคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจที่เป็นคุณต่อลูกจ้างแต่ออกภายหลังที่ลูกจ้างเกษียณอายุไปแล้ว
dot
dot
bulletศาลฎีกา
bulletศาลอุทธรณ์
bulletศาลแพ่ง
bulletศาลแพ่งกรุงเทพใต้
bulletศาลอาญา
bulletศาลแพ่งธนบุรี
bulletศาลแรงงานกลาง
bulletศาลล้มละลายกลาง
dot

dot
dot
dot
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
bulletกรมการจัดหางาน
bulletกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletสถาบันความปลอดภัยในการทำงาน
bulletศูนย์บริการข้อมูลและฝึกอบรมแรงงาน
bulletสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน
bulletสำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ
dot
dot
bulletบุษบาผู้น่าสงสาร
bulletขนมดังโกะ
bulletฤกษ์สึก
dot
dot
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำรายชั่วโมง
bulletอัตราค่าจ้างขั้นต่ำใหม่ ซึ่งได้ประกาศให้มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550
bulletแนวทางในการส่งเสริมให้นักเรียน นิสิต และนักศึกษาเข้าทำงานในช่วงปิดภาคเรียนหรือภาคฤดูร้อน
bulletหลัก 7 ประการในการบริหารแรงงาน
bullet สาระสำคัญพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
bulletหญิงไทยกับกฎหมายแรงงานใหม่
bullet10 เคล็ดลับ เพื่อผูกใจพนักงานไว้กับองค์กร
bulletร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.........
bulletร่างพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ ฉบับคณะกรรมการกฤษฎีกา
bulletร่างพระราชบัญญัติค่าจ้างและรายได้
dot
dot
bulletโครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย
bulletไทยเซฟตี้ดอทเน็ต
bulletสภาทนายความ
bulletทนายป๊อดดอทคอม
bulletสำนักกฎหมายทัศน์พงษ์ สกุลคู
bulletไทยจัสติสดอทคอม
bulletอาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
bulletThaiJobCenter.com
dot
dot
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนเมษายน 2550
bulletตัวอย่างวารสารกฎหมายแรงงานเดือนพฤษภาคม 2550
dot
dot
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 3 หลักการพัฒนาตนเองให้เป็นพหูสูต
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 2 เทคนิคการปกครองคน 3 รูปแบบ
bulletพุทธธรรมที่ควรนำมาใช้ในการบริหารจัดการ ตอนที่ 1
bulletเคล็ดลับ 12 ประการในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ( 12 Tips for Building Good Human Relations)
bulletผู้นำที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ ตอนที่...2
bulletฝ่ายบุคคลมือใหม่กับยายจำปีสุดแสบ
bulletเรื่องของ ค คน โดยจามจุรีสีชมพู
bulletสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง


ประชาสัมพันธ์ Add Url ฟรี!


ห้องเรียน กฎหมายแรงงาน
            กฎหมายคุ้มครองแรงงาน มาตรา 11/1 กำหนดให้ผู้ประกอบกิจการที่มอบให้บุคคลใดเป็นผู้จัดหาคนมาทำงานอันมิใช่การประกอบธุรกิจจัดหางาน โดยการทำงานนั้นเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการผลิตหรือธุรกิจในความรับผิดชอบของผู้ประกอบกิจการ และโดยบุคคลนั้นจะเป็นผู้ควบคุมดูแลการทำงานหรือรับผิดชอบในการจ่ายค่าจ้างให้แก่คนที่มาทำงานนั้นหรือไม่ก็ตาม ให้ถือว่าผู้ประกอบกิจการเป็นนายจ้างของคนที่มาทำงานดังกล่าว ด้วยความที่ถือว่าผู้ประกอบกิจการเป็นนายจ้างจึงมีคำถามเกิดขึ้นมากมาย หนึ่งในนั้นก็คือ จะนับอายุงานเพื่อจ่ายค่าชดเชยอย่างไร ?


ถูกเลิกจ้างเพราะปฏิบัติตามคำสั่งเจ้าพนักงานบังคับคดี แต่ ขัดคำสั่งนายจ้าง ผลทางกฎหมายเป็นอย่างไร ?
 วันดีคืนดีเจ้าพนักงานบังคับคดีก็มีหมายแจ้งกรรมการผู้จัดการบริษัทให้ส่งเงินเดือนนาย ส. ซึ่งเป็นพนักงานบริษัทร้อยละ 30 ไปยังกรมบังคับคดีตามคำสั่งอายัดทรัพย์ เพื่อชำระหนี้ให้กับเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาในคดีที่นาย ส. ตกเป็นจำเลยและแพ้คดีกลายเป็นลูกหนี้ตามคำพิพากษา
ลูกจ้างถูกเลิกจ้างไปแล้ว ค่าจ้างงวดสุดท้ายต้องจ่ายที่ใด ?
เขียนหนังสือลาออกแต่ระบุเหตุที่ลาออกว่า บริษัทเลิกจ้าง ผลทางกฎหมายเป็นอย่างไร ?

การลาออกลูกจ้างย่อมไม่มีสิทธิได้รับค่าชดเชย ส่วนการเลิกจ้างหากลูกจ้างไม่ได้กระทำความผิดตามข้อยกเว้นของกฎหมาย ลูกจ้างย่อมมีสิทธิได้รับค่าชดเชย การเขียนหนังสือลาออกแต่ ระบุเหตุที่ลาออกว่า บริษัทเลิกจ้าง จึงขัดแย้งกันในตัว แท้จริงแล้วลูกจ้างลาออกหรือถูกเลิกจ้างกันแน่ ยังสงสัยอยู่ ?

ลงบัญชีเท็จ กับ การทุจริตต่อหน้าที่
  ก่อนอื่นต้องทำความเข้าใจกับคำว่า ทุจริต เสียก่อนว่ามีความหมายอย่างไร คำว่า ทุจริตในกฎหมายแรงงานนั้น ความหมายที่เข้าใจง่าย คือ การโกงนั้นเอง
เมื่อพนักงานตรวจแรงงานไม่ได้สั่ง เรื่อง สินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า ลูกจ้างต้องฟ้องเพิกถอนคำสั่งหรือไม่ ?
เมื่อลูกจ้างไปพบพนักงานตรวจแรงงานแล้วเขียนคำร้อง อ้างว่า นายจ้างเลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชยและสินจ้างแทนการบอกล่าวล่วงหน้า ขอให้จ่ายเงินทั้งสองรายการดังกล่าว พนักงานตรวจแรงงานจึงได้เรียกนายจ้างมาสอบข้อเท็จจริง สอบแล้ว เห็นว่า ลูกจ้างมีสิทธิได้รับเงินค่าชดเชยจึงออกคำสั่งให้นายจ้างจ่ายค่าชดเชยให้กับลูกจ้าง ส่วนสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าในคำสั่งมิได้กล่าวถึงแต่อย่างใด ก็เลยไม่รู้ว่าลูกจ้างมีสิทธิหรือไม่มีสิทธิ สงสัยพนักงานตรวจแรงงานจะลืมสั่ง ไม่ว่าจะลืมหรือตั้งใจไม่สั่งก็ตามแต่ คำสั่งอย่างนี้ ถือเป็นการโต้แย้งสิทธิของลูกจ้างในเงินสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า หรือไม่ ?
อนุมัติให้ลาออกก่อนวันที่กำหนดในใบลา ผลทางกฎหมายเป็นอย่างไร ?
สัญญาจ้างที่ไม่มีกำหนดระยะเวลาการจ้าง การลาออกจึงเป็นเอกสิทธิของลูกจ้าง ลูกจ้างประสงค์จะลาออกเมื่อใดก็บอกกับนายจ้างให้รู้การลาออกก็มีผลโดยสมบูรณ์เมื่อถึงวันที่ลูกจ้างกำหนด โดยไม่จำเป็นต้องให้นายจ้างอนุมัติเสียก่อน มีบ่อยครั้งที่นายจ้างรู้สึกอึดอัดกับการทำงานของลูกจ้างเมื่อลูกจ้างยื่นใบลาออกล่วงหน้าด้วยตั้งใจจะให้ถูกต้องตามระเบียบนายจ้างมักจะทนรอให้ถึงวันที่ลูกจ้างกำหนดไม่ไหว จึงอนุมัติให้ลูกจ้างออกเสียนับแต่วันที่ยื่นใบลาเสียเลย ปัญหาจึงเกิด ลูกจ้างฟ้องนายจ้างต่อศาลอ้างว่า ถูกเลิกจ้าง เนื่องจาก นายจ้างให้ออกก่อนเวลาที่กำหนดนั้นเอง
หนังสือเลิกจ้างไม่ระบุว่า ลูกจ้างผิดระเบียบข้อใด ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ ?
ในหนังสือเลิกจ้างนายจ้างบรรยายแต่ข้อเท็จจริงที่อ้างว่า ลูกจ้างกระทำความผิดอันเป็นเหตุให้นายจ้างต้องบอกเลิกจ้างเท่านั้น มิได้ระบุว่า การกระทำของลูกจ้างนั้นเป็นความผิดตามระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานข้อใด
การเปลี่ยนตัวนายจ้าง กับ ความยินยอมของลูกจ้าง
 เมื่อกิจการของท่านจำเป็นต้องมีการเปลี่ยนแปลงไม่ว่าจะเป็นการโอนหุ้นใหญ่ให้กับบุคคลอื่น ขายกิจการให้กับผู้ลงทุนรายใหม่ ควบรวมกิจการกับบริษัทอื่น หรือบริษัทในเครือก็ตาม  หรือกิจการของท่านกระทำในนามบุคคลธรรมดา หากท่านจำเป็นต้องโอนกิจการให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะเป็นการขายหรือด้วยเหตุใดก็ตาม สิ่งเหล่านี้ถือเป็นการเปลี่ยนตัวนายจ้างทั้งสิ้น ในกรณีนี้หากนายจ้างใหม่ต้องการรับลูกจ้างที่ทำงานกับท่านมาเป็นลูกจ้างของตนด้วย  นายจ้างใหม่ย่อมรับไปทั้งสิทธิ และหน้าที่ที่ท่านในฐานะนายจ้างเดิมมีต่อลูกจ้างมาเป็นของตนทุกประการ
ลาออกรับเงินช่วยเหลือ กับ เลิกจ้างรับเงินชดเชย เลือกอะไรดี ?
 มีบ่อยครั้งที่นายจ้างต้องการให้ลูกจ้างพ้นจากการทำงานโดยที่ลูกจ้างมิได้กระทำความผิดใดๆ นายจ้างมักใช้วิธีเจรจาให้ลูกจ้างลาออกแลกกับการรับเงินช่วยเหลือพิเศษโดยเทียบเคียงแล้วอาจเท่ากับหรือมากกว่าค่าชดเชยตามกฎหมาย หรือบางรายอาจน้อยกว่าค่าชดเชยด้วยซ้ำไป ขึ้นอยู่กับความสามารถในการเจรจา หากลูกจ้างไม่ยอมลาออกนายจ้างก็จำเป็นต้องเลิกจ้างโดยยินยอมจ่ายค่าชดเชยตามกฎหมาย เมื่อได้รับข้อเสนอเช่นนี้ ลูกจ้างควรเลือกอะไรดี ?
ลูกจ้างทดลองงาน กับ การแจ้งข้อเรียกร้อง
ลูกจ้างเมื่อแรกเข้าทำงานย่อมต้องผ่านการทดลองงานก่อน การทดลองงานจึงเป็นสิ่งจำเป็นและเหมาะสมในการบริหารจัดการของนายจ้าง เมื่อผลงานหรือความประพฤติของลูกจ้างไม่เหมาะกับงานที่ทำ นายจ้างจึงอาจเลิกจ้างได้ด้วยเหตุไม่ผ่านทดลองงาน หากข้อเท็จจริงปรากฏว่า ลูกจ้างไม่ผ่านทดลองงานจริง ก็ถือว่าเป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรมเช่นกัน
การเลิกจ้าง กับ สิทธิในการร้องต่อคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์และพนักงานตรวจแรงงาน
เมื่อถูกเลิกจ้าง หากลูกจ้างเห็นว่า การเลิกจ้างเป็นการกระทำอันไม่เป็นธรรม เนื่องจาก ลูกจ้างเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน หรือมีส่วนเกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้องก็ตาม ลูกจ้างย่อมมีสิทธิร้องต่อคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ให้มีคำสั่งให้นายจ้างรับกลับเข้าทำงานหรือจ่ายค่าเสียหายหรือทั้งรับกลับและจ่ายค่าเสียหายด้วยก็ยังได้ ในขณะเดียวกัน หากลูกจ้างเห็นว่า การเลิกจ้างนายจ้างต้องจ่ายค่าชดเชยด้วย ลูกจ้างอาจร้องต่อพนักงานตรวจแรงงานให้มีคำสั่งให้นายจ้างจ่ายค่าชดเชยได้ด้วยเช่นกัน
การดำเนินคดีอาญานายจ้าง กรณีฟ้องเพิกถอนคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน
ระเบียบว่าด้วยการลาป่วย กับ สิทธิการได้รับค่าจ้าง
ป่วย กับ สิทธิการได้รับค่าจ้าง
กฎหมายกำหนดให้นายจ้างต้องจ่ายค่าจ้างให้ลูกจ้างในวันลาป่วยตลอดระยะเวลาที่ลาแต่ปีหนึ่งไม่เกิน 30 วันทำงาน จึงเป็นที่เข้าใจของฝ่ายบุคคลมาโดยตลอดว่า เมื่อใดที่ลูกจ้างไม่มาทำงานแล้ววันรุ่งขึ้นมายื่นใบลาป่วย เป็นอันใช้ได้ วันนั้นต้องจ่ายค่าจ้างให้ลูกจ้างไปจะได้ไม่ขัดต่อกฎหมาย
หนังสือเตือน กับ โทษทางวินัย
เมื่อเอ่ยถึงหนังสือเตือนก็เข้าใจกันว่า เป็นโทษทางวินัยอย่างหนึ่งที่ใช้ลงโทษลูกจ้างที่กระทำความผิดต่อระเบียบข้อบังคับการทำงาน ก่อนที่จะลงโทษด้วยการ พักงานหรือเลิกจ้างเป็นการต่อไป และกฎหมายคุ้มครองแรงงาน มาตรา 119 ก็กำหนดให้การเลิกจ้างลูกจ้างที่กระทำผิดในเรื่องที่เคยได้รับหนังสือเตือนมาแล้ว นายจ้างมีสิทธิไม่จ่ายค่าชดเชยได้ ยิ่งทำให้เข้าใจว่า หนังสือเตือน คือ โทษทางวินัยอย่างแน่นอน ดังนั้น ในระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานจึงมักกำหนดให้ การตักเตือนเป็นหนังสือ ถือเป็นโทษทางวินัยอย่างหนึ่ง
หน้า 6/8
[ก่อนหน้า]   1 2 3 4 5 6 7 8  [ถัดไป]
[Go to top]



Copyright © 2010 All Rights Reserved.